Page 119 -
P. 119

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                        91





                     ตางๆ ที่ไมปกติจะมีการกักตุนอาหารและสิ่งจําเปนไวใชในยามฉุกเฉิน แตการที่ประเทศไทยจะมี
                     ความมั่นคงไดนั้นมีองคประกอบของปจจัยตางๆ เขามาเกี่ยวของมากมายโดยเฉพาะการพัฒนา

                     เกษตรกรที่อยูในภาคการผลิตใหเกษตรกรมีพื้นฐานที่แข็งแรง ดวยวิธีการที่เกษตรกรอยูในขายที่
                     สามารถทําไดดวยหลักการพึ่งพาตนเอง ลดการพึ่งพาบุคคลหรือหนวยงานอื่น ไดแก

                            1) การมีความพรอมในการประกอบอาชีพหลายอยางในเวลาเดียวกันภายใตขอจํากัดของ
                     เกษตรกรเอง คืออายุเฉลี่ยที่มากขึ้น จํานวนแรงงานในครัวเรือนลดลง ระดับการศึกษาที่มีเพียง

                     ประถมศึกษา ขาดทุนทางปญญาที่จะใชตอยอดในการประกอบอาชีพ สิ่งเหลานี้ลวนนําความ
                     เปราะบางมาใหเกษตรกรทั้งสิ้น การเขารับการอบรมถายทอดความรูจะชวยลดความเปราะบางได

                     บาง
                            2)  การเรียนรูดวยการสะสมประสบการณ ในการดํารงชีวิต และการผลิต ภายใตขอจํากัด

                     ของการมีความรู ในระดับการศึกษาประถมศึกษา ทําใหการรับขอมูลขาวสารที่เปนประโยชน
                     เปนไปไดอยางมีขอจํากัด ซึ่งสิ่งเหลานี้เกษตรกรจะสามารถรวมกลุมกันทางสังคมในแตละหมูบาน

                     เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรูรวมกัน
                            3)  การพยามยามเสาะแสวงหาแหลงที่มาของรายไดใหตนเอง เพื่อใหมีทางเลือกมากกวา

                     1-2 แหลงรายไดเพื่อสรางรายไดใหตอเนื่องตลอดทั้งป โดยเฉพาะในงานที่ไมตองใชคุณวุฒิสูงมาก
                     นัก กรณีที่ไมสามารถหารายไดตอเนื่องทั้งป เกษตรกรตองวางแผนการใชจายเงินดวยวิธีการถัว

                     เฉลี่ยในระยะเวลาที่มีรายไดกับระยะเวลาที่ไมมีรายได ตองรูจักการวางแผนทางการเงินโดยการ
                     จัดทําบัญชีครัวเรือนมาใชในการวางแผนหากเกษตรกรไมสามารถทําบัญชีดวยตนเองได อาจจะให

                     บุตรหลานที่ไดเรียนหนังสือชวยทําได
                            อยางไรก็ตามกระบวนการปรับตัวของเกษตรกรทั้งในระบบการผลิตและการดํารงชีพให

                     เขากับสภาพใหมที่เกิดขึ้นทางดานเศรษฐกิจและสังคมมีปจจัยที่เขามาเกี่ยวของมากมายแตสิ่งหนึ่ง
                     ที่จะชวยใหกระบวนการปรับตัวประสบผลสําเร็จคือการปรับพฤติกรรมของเกษตรกรเองเพราะ

                     พฤติกรรมเปนตัวควบคุมใหทําสิ่งตางๆ โดยเฉพาะพฤติกรรมเกษตรกรยอมสงผลตอแบบแผน
                     รายไดและการใชจายอยางสมเหตุสมผลของเกษตรกรเอง เพราะการที่จะหวังพึ่งพาจากรัฐอยาง

                     เดียวเหมือนที่ผานมาก็ชวยบรรเทาปญหาไดเพียงระดับหนึ่งเทานั้น
                            กลาวไดวา การมีแบบแผนรายไดและการใชจายจะสงผลตอการสรางสมดุลในการดํารงชีพ

                     ที่มาจากพฤติกรรมของเกษตรกรผูปลูกขาว เนื่องจากระบบเศรษฐกิจเปนพื้นฐานทางสังคมที่
                     สําคัญ เกษตรกรผูปลูกขาวตองแสวงหาเครื่องอุปโภคเชน เครื่องมือเครื่องใชในการปลูกขาว และ

                     เครื่องบริโภคในระบบการดํารงชีพ เมื่อเกษตรกรผูปลูกขาวมีความตองการในการบริโภคมากขึ้น
                     ทําใหตองเสียคาใชจายมากขึ้นเกษตรกรก็ตองแสวงหารายไดที่เพิ่มขึ้นเพื่อจายคาจางและการ

                     ลงทุนในการปลูกขาว
   114   115   116   117   118   119   120   121   122   123   124