Page 121 -
P. 121

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                        93





                     รายไดและการใชจายในครัวเรือนที่ไมสมดุล ภาครัฐควรสรางกลไกสนับสนุนใหเกษตรกรตระหนัก
                     ในการพึ่งพาตนเอง  เชน ความรูและเทคนิควิธีการผลิต โครงสรางพื้นฐานที่สําคัญในดานน้ํา  การ

                     ใชเทคโนโลยีที่เหมาะสมในการผลิต การใชแรงงานแลกเปลี่ยนระหวางครัวเรือนของเกษตรกร ซึ่ง
                     จะชวยลดการพึ่งพาจากภาครัฐ การชวยเหลือควรเนนใหเกษตรกรปรับพฤติกรรม รูจักวิธีการนํา

                     ทรัพยากรไปใชในการสรางอาชีพ สรางทักษะในการพึ่งตนเองใหได


                     5.3 ขอเสนอแนะในการวิจัยตอไป
                            การมีแบบแผนรายไดและการใชจายที่ดี การวิจัยทางดานพฤติกรรมของเกษตรกรเพื่อให

                     กับเกษตรกรไดปรับแนวคิด ควรดําเนินการ เนื่องจากการวิจัยนี้เพื่อหาแนวทางการเพิ่ม
                     ประสิทธิภาพการผลิตขาวในลักษณะการลดตนทุนและการใชประโยชนจากแรงงานที่มีอยูใน

                     ครัวเรือนใหเกิดประสิทธิภาพสูงสุดเพื่อลดขอจํากัดในการขาดแคลนแรงงาน ตลอดจนการปลูก
                     พืชผักเศรษฐกิจในวงรอบการผลิตเพื่อใหเกษตรกรมีรายไดอยางตอเนื่องทั้งป เพื่อสรางความ

                     เขมแข็งใหกับเกษตรกรในลักษณะที่ใหเกิดผลิตภาพที่มากขึ้นไปไปในแนวทางการลดตนทุนแตยัง
                     คงไวซึ่งคุณภาพขาว โดยศึกษาเกษตรกรเปนรายกรณี ที่เนนการปรับพฤติกรรมที่สอดคลองกับ

                     ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อนํามาเปนแบบอยางและถายทอดความรูใหกับเกษตรกรราย
                     อื่นๆ


                     5.4 ขอเสนอแนะเชิงนโยบาย

                            ตนเหตุของปญหาคือขอจํากัดในดานคุณวุฒิของเกษตรกรผูปลูกขาว ที่ต่ํากวาอาชีพทั่วไป
                     สิ่งนี้จะสงผลตอวิธีคิด แลวนําไปสูพฤติกรรมที่เปนปญหาตอเนื่องกันไดแก การวางแผน ภาระ

                     หนี้สิน ความสามารถในการพึ่งพาตนเองลดนอยลง อันจะเปนอุปสรรคตอแบบแผนในการ
                     ดํารงชีวิต  โดยเฉพาะแบบแผนการใชจาย การนําเสนอขอเสนอแนะในเชิงนโยบายนี้ผูวิจัย จึง

                     เสนอในลักษณะของตอบคําถามวา ทําอยางไรจะทําใหเกษตรกรสามารถบริหารจัดการรายไดที่หา
                     มาไดใหเกิดสมดุลในการดํารงชีพ ใหมีศักยภาพในการทํางานไดหลากหลายและเกิดเปนรายได

                     เพื่อดํารงชีพภายใตปจจัยแวดลอมที่มาจากสภาพทางเศรษฐกิจและสังคมเพื่อลดการพึ่งพาของรัฐ
                     การศึกษาของเกษตรกรตลอดชีวิตเพื่อเปนทักษะในการประกอบอาชีพเพื่อชวยใหเกษตรกรมีผลิต

                     ภาพแรงงานเพิ่มขึ้น สามารถทํางานทางดานการเกษตรใหมีคุณภาพควรจะไดรับการสงเสริมและ
                     ชวยเหลืออยางตอเนื่อง สวนการดํารงชีวิตนั้นมุงใหเกษตรกรปรับพฤติกรรมของเกษตรกรเอง ให

                     สามารถปรับตัวไดมากขึ้นเพื่อรองรับกระแสการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในปจจุบันและในอนาคตที่
                     ไมมีแนวโนมวาจะลดลงได

                            สภาพสังคมของเกษตรกรที่ไดขึ้นชื่อวาเปนกระดูกสันหลังของชาติ แตเต็มไปดวยปจจัย
                     เสี่ยงตางๆ ทั้งทางเศรษฐกิจคือกระแสทุนนิยม การบริโภคจนเกินตัว การมีอุปกรณเครื่องใชที่

                     ทันสมัยแตไมจําเปน และทางธรรมชาติคือความเสี่ยงในการผลิต ขาดปจจัยการผลิต กระดูกสัน
                     หลังของชาติก็ยอมจะผุพังไดหากไมมีภูมิตานทานที่เพียงพอตอสิ่งตางๆ ที่เขามากระทบทั้ง
   116   117   118   119   120   121   122   123   124   125   126