Page 116 -
P. 116

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว










                                                            บทที่ 5
                           การวิเคราะหเพื่อนําไปสูขอเสนอแนะในการนําผลการวิจัยไปใชและ

                                                    ขอเสนอเชิงนโยบาย



                            ในบทนี้ผูวิจัยไดวิเคราะหแบบแผนรายไดและการใชจายของเกษตรกรผูปลูกขาวเพื่อ
                     นําไปสูขอเสนอแนะในงานวิจัย ใน 3 ประเด็นหลักคือ การนําผลการวิจัยในเรื่องนี้ไปใชประโยชน

                     ประเด็นที่ควรทําวิจัยในครั้งตอไปที่สามารถตอยอดจากการวิจัยในเรื่องนี้เพื่อใหเกิดประโยชน
                     ตอเนื่อง และขอเสนอแนะในเชิงนโยบายอันจะนําไปสูความพอเหมาะพอดีในการพึ่งพาตนเองของ

                     เกษตรกร ลดภาระของหนวยงานภาครัฐ และการจัดหาปจจัยเอื้อสนับสนุนที่จําเปนของภาครัฐ
                     ตามลําดับดังนี้


                            5.1 วิเคราะหแบบแผนรายไดและการใชจายของครัวเรือนเกษตรกรผูปลูกขาว

                            การเปลี่ยนแปลงแบบแผนการดําเนินชีวิตในการทํามาหากินและการปรับตัว ความเชื่อ

                     ความคิด วัฒนธรรมประเพณี สงผลตอแบบแผนรายไดและการใชจายของครัวเรือนเกษตรกร ผล
                     การศึกษาจากกลุมเกษตรกรผูปลูกขาวในจังหวัดอุบลราชธานี กับการปรับตัวทางดานเศรษฐกิจ
                     และสังคมที่สงผลตอเนื่องตลอดเวลาหรือที่เขาใจวากระแสโลกาภิวัตน สิ่งเหลานี้มีอิทธิพลอยาง

                     มากกับเกษตรกรผูปลูกขาว เพราะในระบบการดํารงชีวิตเกษตรกรยังตองการปจจัยอื่นอีกที่ไม

                     สามารถผลิตไดเองเหมือนการปลูกขาว เพียงแตการปลูกขาวของครัวเรือนเกษตรกรสามารถสราง
                     ความมั่นคงในดานอาหารหลักที่เปนปจจัยสี่ใหกับตนเองซึ่งสามารถลดความเสี่ยงในระดับหนึ่งแต
                     เนื่องจากเกษตรกรตองพึ่งพาปจจัยในการดํารงชีวิตที่จําเปนอีกมาก และปจจัยการดํารงชีวิตที่

                     จําเปนนั้นผูกติดอยูกับระบบตลาด คือการซื้อเพื่อใหไดสินคามาสนองตอบตอความตองการ

                     จําเปนตองดิ้นรนหาทางออกและปรับเปลี่ยนวิธีการจากการผลิตเพื่อการยังชีพมาเปนการผลิตใน
                     เชิงพาณิชยเพิ่มมากขึ้นเพื่อจะไดนําเงินจากการขายผลผลิตที่ตนเองสามารถผลิตไดไปใชในการ
                     ดํารงชีวิต

                                วิถีการผลิตที่เปลี่ยนแปลงไป ที่พบเห็นคือ มีการจางแรงงานมากขึ้นเนื่องจากแรงงานใน

                     ครัวเรือนไมเพียงพอ การรับเอาเทคโนโลยีมาใชในการผลิต เพื่อทดแทนแรงงานที่ลดนอยลง  มี
                     การสะสมทุนทางกายภาพในรูปแบบของอุปกรณในการปลูกขาวเพิ่มมากขึ้นโดยเฉพาะรถไถขนาด
                     เล็ก มีกิจกรรมการปลูกพืชเศรษฐกิจเสริมหลากหลายขึ้น  มีการกูยืมเงินทั้งในระบบที่เปนสถาบัน

                     การเงินของรัฐ และนอกระบบของนายทุนมาชวยเปนทุนในการผลิต  เกษตรกรคุนเคยกับระบบ

                     สินเชื่อ  สามารถเขาถึงสินเชื่อไดตามนโยบายของรัฐบาลผานทางธนาคารเพื่อการเกษตรและ
                     สหกรณการเกษตร  (ธกส.) มีการซื้อปจจัยการผลิตมากเมื่อเทียบกับอดีต และเงินที่ลงทุนไปใน
                     ระบบการผลิตกับเงินที่ขายผลผลิตไดใกลเคียงกัน เกษตรกรเผชิญกับการผลิตที่มากกวาเดิมแต
   111   112   113   114   115   116   117   118   119   120   121