Page 120 -
P. 120

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                        92





                     5.2 ขอเสนอแนะในการนําผลการวิจัยไปใช
                            5.2.1 ประเด็นสําคัญในงานวิจัยที่พบคือ แหลงที่มาของรายไดเสริมของครัวเรือน

                     เกษตรกรมากที่สุดคือการปลูกพืชผักเศรษฐกิจแตไมเปนรายไดตอเนื่องทั้งป จึงมีขอเสนอแนะวา
                     เกษตรกรควรแบงพื้นที่สําหรับการปลูกพืชผักเศรษฐกิจซึ่งอาจจะหมุนเวียนพืชแตละชนิดอยาง

                     หลากหลายตามฤดูกาล เกษตรกรควรดําเนินการโดยปลูกพืชที่มีความเชี่ยวชาญกอน หนวยงานที่
                     เกี่ยวของควรดําเนินการอบรมใหความรูเพื่อชวยใหการผลิตพืชเศรษฐกิจเปนทางเลือกเพื่อเปน

                     รายไดทางเศรษฐกิจหมุนเวียนอยางตอเนื่อง เพื่อชดเชยรายไดที่ไมตอเนื่องทั้งป และหาก
                     ครัวเรือนใดมีความถนัดในการปลูกพืชชนิดใด อาจใชวิธีการแลกเปลี่ยนกันตามความถนัดเพื่อเปน

                     อาหารในครัวเรือนและสรางความสัมพันธในลักษณะพึ่งพาอาศัยกันไดในอีกมิติที่เปนการ
                     ชวยเหลือเกื้อกูลกันกอเกิดเปนทุนทางสังคม

                            5.2.2 ประเด็นสําคัญในงานวิจัยที่พบวา รายจายที่สําคัญของครัวเรือนเกษตรกรในระบบ
                     การผลิตมากที่สุดคือรายจายจากการเพาะปลูก (คาปุยและสารเคมีจํากัดศัตรูพืช) และการดํารงชีพ

                     มีรายจายคาอาหารและเครื่องดื่มมากที่สุดจึงมีขอเสนอแนะวาเกษตรกรควรดําเนินการลดตนทุน
                     การผลิตที่เปนปจจัยการผลิตเชนปุยและยาปราบศัตรูพืชโดยปรับเปลี่ยนมาใชปุยอินทรียและ

                     ปรับเปลี่ยนยาปราบศัตรูพืชมาเปนพัฒนาสูตรยาจากใบพืชที่มีอยูในทองถิ่นเพื่อลดตนทุน
                     หนวยงานที่เกี่ยวของควรดําเนินการอบรมใหความรูเกษตรกรเพื่อใหเกษตรไดปรับเปลี่ยนวิธีการ

                     ในการลดตนทุนการผลิตและยังเปนผลดีตอสุขภาพ
                            5.2.3 ประเด็นสําคัญในงานวิจัยที่พบวา แนวทางการปรับตัวของครัวเรือนเกษตรกรเพื่อ

                     สรางสมดุลในการดํารงชีพมีหลายวิธีเชน การทําไรนาสวนผสมและการปลูกพืชผักเศรษฐกิจ การ
                     เนนใชแรงงานในครัวเรือนสามารถปรับวิธีการหารายไดเพิ่มและการลดรายจาย ตามความจําเปน

                     ของแตละครัวเรือนบนพื้นฐานของความมีเหตุผลและปจจัยที่เกี่ยวของไมเหมือนกันโดยทดลองทํา
                     แตละวิธี เพื่อใหเกิดความสมดุล โดยเฉพาะควรลงมือปฏิบัติตามแนวทางปรัชญาของเศรษฐกิจ

                     พอเพียงอยางเปนรูปธรรม หนวยงานที่เกี่ยวของควรดําเนินการรณรงคและประชาสัมพันธอยาง
                     ตอเนื่องเพื่อยกระดับการปฏิบัติใหครัวเรือนตระหนักและปรับเปลี่ยนวิถีชีวิตตามแนวทางเศรษฐกิจ

                     พอเพียง
                            5.2.4 ประเด็นสําคัญในงานวิจัยที่พบวา ปจจัยที่มีอิทธิพลตอแบบแผนรายไดและการใช

                     จายของครัวเรือนเกษตรกร คือเพศของหัวหนาครัวเรือน คือหัวหนาครัวเรือนที่เปนเพศหญิงมี
                     แผนการใชจายมากกวาครัวเรือนที่มีหัวหนาครัวเรือนเปนเพศชาย และครัวเรือนเกษตรกรที่มี

                     รายไดเพิ่มขึ้นสงผลตอสัดสวนการใชจายของครัวเรือนตอรายไดรวมของเกษตรกรลดลง เพื่อให
                     เกิดความสมดุล หนวยงานที่เกี่ยวของควรเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรูในกระบวนการวางแผนการใช

                     จายที่สามารถสรางสมดุลในการดํารงชีพดานเศรษฐกิจได
                            5.2.5 ประเด็นสําคัญในงานวิจัยที่พบวา เกษตรกรมีขอจํากัดในดานการศึกษา คือจบ

                     การศึกษาขั้นต่ําระดับประถมศึกษา ทําใหเกิดขอจํากัดทางดานการเรียนรูตอเนื่องตลอดชีวิต
                     โดยเฉพาะการเรียนรูจากประสบการณในวิถีการผลิตและการบริโภคที่พอเพียง สงผลตอแบบแผน
   115   116   117   118   119   120   121   122   123   124   125