Page 123 -
P. 123

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                        95





                     ทักษะทางดานการผลิตและความรูดานการผลิต รวมทั้งเทคโนโลยีที่ถูกหลักวิชาการเหมาะสมใน
                     การผลิตในแตละพื้นที่และพื้นฐานความรูของเกษตรกร

                             5.4.4 ทรัพยากรทางการเงินถึงแมจะเปนปจจัยสําคัญในการดํารงชีวิต แตหากรูจักบริหาร
                     จัดการรายจายใหพอกับรายได เกษตรกรก็ยังคงมีทางเลือกในการไมเปนหนี้ได เพราะปญหาหนี้

                     ของเกษตรกรมาจากการมีรายไดนอยหรือการไมมีเงิน จําเปนตองกูยืมซึ่งสงผลผูกพันตออนาคต
                     เพราะตองสงทั้งเงินตนและดอกเบี้ย นอกจากนี้หนี้สินที่พบสวนใหญเปนหนี้เพื่อการใชจายใน

                     ชีวิตประจําวัน โดยนําเงินในอนาคตมาใชจายลวงหนา หากพิจารณาจากปญหายอย การที่
                     เกษตรกรมีรายไดนอย มีรายจายมากกวารายได นั้นสาเหตุจากการขาดทุนทางปญญาที่จะ

                     นําไปใชในการประกอบอาชีพ และสาเหตุของการขาดทุนทางปญญาคือการขาดโอกาสทาง
                     การศึกษาและการเรียนรู ซึ่งเปนวัฏจักรที่หมุนวนไมรูจบสิ้น การตัดวงจรนี้ ตองมาจากนโยบาย

                     ของรัฐที่จะจัดการแกปญหาหนี้สินตองแกปญหาในระยะยาว  จึงจะหลุดวงโคจรหนี้  มีระบบการ
                     ติดตามตรวจสอบใหคําแนะนําในการปลดหนี้ เชนจัดโครงการคนหาเกษตรกรที่มีแนวทางในการ

                     ลดหนี้เพื่อเปนตัวอยางที่ดีหรือ (best practices) ในการบริหารจัดการหนี้ ใหกับเกษตรกรรายอื่นๆ
                            การเสริมสรางยุทธวิธีในการปรับตัวเพื่อการอยูรอดจากภาครัฐและหนวยงานที่เกี่ยวของ

                     โดยการสรางงาน สรางอาชีพ กิจกรรม หรือสรางรูปแบบวิธีการตาง ๆ อันหลากหลายโดยอาศัย
                     ทรัพยสินหรือทุนที่มีอยูนั้น มาสนับสนุนในการประกอบอาชีพ ซึ่งยุทธศาสตรการดํารงชีพของ

                     ครัวเรือนเกษตรกรหรือชุมชนนี้ จะกอใหเกิดผลลัพธในการดํารงชีพตาง ๆ ตามมา คือ การมี
                     รายไดเพิ่มขึ้น การมีความเปนอยูที่ดีขึ้น การลดความออนแอลง การเพิ่มความมั่นคงดานอาหาร

                     และการเกิดความยั่งยืนในการใชทรัพยากรธรรมชาติ อันกอใหเกิดความอยูรอดและความยั่งยืน
                     ของเกษตรกรผูปลูกขาว ที่ผานมาพบแลววาการใหเงินกูลวงหนาแกเกษตรกรมาทําการเกษตรนั้น

                     ยังไมสามารถแกไขปญหาไดตรงจุด เกษตรกรตองปรับตัวเองใหมากโดยเฉพาะการปรับ
                     พฤติกรรมการใชเงินเปนตัวตั้งในระบบการผลิตและการบริโภค แตควรใชเงินเปนเครื่องมือเพื่อให

                     การผลิตและการบริโภคอยูในระดับที่พอดี ไมเกิดความกดดันกับตนเองและคนรอบขาง
                                 การพัฒนาครัวเรือนแรงงานในภาคการเกษตรที่อยูในพื้นที่เศรษฐกิจหลักการปลูกขาว

                     การพัฒนาแรงงานที่อยูในภาคการผลิตโดยเฉพาะการเกษตรกรรมที่เชื่อมโยงกับอุตสาหกรรม
                     หากสงเสริมใหเกษตรกรสามารถพึ่งพาตนเองโดยใชทุนที่มีอยูอยางจํากัดใหเกิดประโยชนสูงสุด ก็

                     จะแขงขันไดภายใตความเสี่ยงในวิถีชีวิตและวิถีการผลิตที่ลดลง  แตการพึ่งพาตนเองไดของ
                     เกษตรกรภายใตการมีทรัพยากรจํากัด มีปจจัยหลายอยางเขามาเกี่ยวของเชน ความสามารถใน

                     การหารายได อยางไรก็ตามถึงแมระบบการสนับสนุนจากรัฐจะดีเพียงไร หากเกษตรกรมีนิสัยหรือ
                     พฤติกรรม ทัศนคติ ความเชื่อ คานิยม หรือแมแตบุคลิกภาพ ที่อยูในตัวเกษตรกรเองก็อาจจะเปน

                     เงื่อนไขที่เปนขอจํากัดในการปรับตัวเพราะสภาพแวดลอมที่อยูภายในและรอบ ๆ เกษตรกรเอง
                     จําเปนตองดูแลตนเอง ความสําเร็จหรือความลมเหลวในการปรับตัวมาจากพฤติกรรมของ

                     เกษตรกรเปนสําคัญ  ถึงแมจะมีความซับซอนในหลายมิติที่เกษตรกรไมสามารถรับมือไดเพราะมี
                     ขอจํากัดหลายดานนั้น หนวยงานที่เกี่ยวของจะตองเปนพี่เลี้ยงใหคําปรึกษาโดยเฉพาะเกษตร
   118   119   120   121   122   123   124   125   126   127   128