Page 117 -
P. 117

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                        89





                     กําไรกลับไมเพิ่มขึ้นเลย ซึ่งเปนแบบแผนการใชจายในวิถีการผลิตของเกษตรกรที่มีรายไดมาจาก
                     การขายผลผลิตและการกูยืมมาลงทุนสงผลตอแนวโนมการเสียสมดุลในบางครัวเรือนนําไปสูการ

                     ปรับตัวในที่สุด
                            วิถีการดํารงชีวิตที่เปลี่ยนแปลงไป ที่พบเห็นคือ เกษตรกรมีการสอดสองหาโอกาสทํางาน

                     เพื่อใหมีรายไดเพิ่มมากขึ้น แมจะมีขอจํากัดในเรื่องทุนและความรูทางวิชาการ การรับจางทั่วไป
                     เกษตรกรคุนเคยกับระบบสินเชื่อในการซื้อสิ่งอํานวยความสะดวกมากขึ้นเมื่อเทียบกับในอดีตที่

                     ผานมา แตสิ่งที่เกษตรกรประสบคือรายไดเพิ่มขึ้น แตรายจายก็เพิ่มมากขึ้นเชนกันและเปนไปใน
                     ลักษณะรายจายมากกวารายได ถึงแมจะมีแหลงรายไดที่สามารถทําเงินให แตหากรายจายมี

                     มากกวารายไดก็ทําใหเสียสมดุลในแบบแผนการใชจายในบางครัวเรือนนําไปสูการปรับตัวในที่สุด
                            วิถีการผลิตและวิถีการดํารงชีวิต เปนแบบแผนที่เกี่ยวของซึ่งกันและกัน หากพิจารณาวิถี

                     การผลิตที่นําไปสูแบบแผนการใชจาย รายจายที่จายไปของเกษตรกรมีหมวดรายจายที่สําคัญ 2
                     ประเภทคือรายจายที่ใชในภาคการผลิตที่เปนอาชีพหลัก (การปลูกขาว) ยังคงเปนรายจายประเภท

                     ปุยและสารเคมีกําจัดศัตรูพืชมากที่สุดอันดับหนึ่ง รายจายนี้เกษตรกรสามารถตัดลดไดแตไมตัดลด
                     เพราะมีพฤติกรรมที่เกี่ยวเนื่องกับความเชื่อวาปุยเคมีใหผลผลิตดีกวาปุยตามธรรมชาติหรือปุย

                     อินทรียที่สามารถผลิตเองได  สวนรายจายที่อยูนอกภาคการเกษตรยังคงเปนคาอาหารและ
                     เครื่องดื่มสวนนี้เกษตรกรก็สามารถตัดลดไดเชนกันเชน การปลูกพืชผักสวนครัวไวบริโภคใน

                     ครัวเรือน การหาอาหารจากแหลงอาหารตามธรรมชาติ รายจายในหมวดสําคัญของเกษตรกรผู
                     ปลูกขาวก็สอดคลองกับงานวิจัยอื่นๆ เพราะรายจายคาอาหารเปนสิ่งจําเปนในปจจัย 4 ของมนุษย

                     แตรายจายอื่นที่สามารถตัดลดไดคือรายจายที่จายไปนอกเหนือจากปจจัยสี่ อนไดแกเครื่องอํานวย
                     ความสะดวกตางๆ ที่ระบบตลาดพัฒนามาใหเกษตรกรไดเลือกบริโภคในรูปแบบอื่นมากมายดังนั้น

                     หากจะใหเกิดแบบแผนการใชจายที่ดี คาใชจายที่จายไปที่นอกเหนือจากปจจัย 4  ตองตัดลดให
                     เปนไปตามอัตภาพและฐานะทางเศรษฐกิจของเกษตรกรเอง

                                  จะเห็นวาแบบแผนรายไดและการใชจายของครัวเรือนเกษตรกรกับการสรางสมดุลใน
                     การดํารงชีพของเกษตรกรผูปลูกขาวในจังหวัดอุบลราชธานี มีความเชื่อมโยงกันระหวาง

                     พฤติกรรมการใชจายเงินของครัวเรือน กับการปรับตัว เปนลําดับ เมื่อเกษตรกรเผชิญกับภาวะทาง
                     เศรษฐกิจและสังคมที่มาพรอมกับกระแสโลกาภิวัตน หรือกลาวอีกนัยหนึ่งก็คือการพัฒนาที่ไมหยุด

                     นิ่งเกษตรกรประสบกับรายไดไมเพียงพอกับรายจาย จึงเกิดการปรับพฤติกรรมเปนไปในแนวทาง
                     เพื่อแกปญหาระยะสั้นคือการกูยืมเงินเพื่อเสริมสภาพคลองทั้งในระบบการผลิตและการดํารงชีพ

                     ขาดการวางแผนการใชจายจนกระทั่งเกือบเสียสมดุลเกษตรกรจึงปรับตัวในรูปแบบที่เขมขนขึ้น
                     โดยเฉพาะการปรับพฤติกรรมในการดํารงชีพเนนการลดรายจายและหารายไดเพิ่มตามแนวทาง

                     ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ภาระหนี้สินลดลงสงผลตอแบบแผนการใชจายที่ดี ดังนั้นการปรับ
                     พฤติกรรมนํามาซึ่งแบบแผนที่ดี

                                กลาวไดวาสมดุลในการดํารงชีพ มาจากการมีแบบแผนรายไดและการใชจายที่ดีทั้งใน
                     ระบบการผลิตและการดํารงชีพ และการมีแบบแผนรายไดและการใชจายที่ดีก็มาจากการมี
   112   113   114   115   116   117   118   119   120   121   122