Page 115 -
P. 115

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                        87





                            ลักษณะการปรับตัวของเกษตรกรผูปลูกขาว มีวิธีการที่สําคัญอยู 2 ประการ ดูเหมือนเปน
                     ประเด็นที่พบโดยทั่วไปในกลุมเกษตรกรผูปลูกขาว ประการที่หนึ่งคือการลดรายจายคือการตัด

                     รายจายที่ไมจําเปนออก และการลดรายจายที่จําเปนลง และประการที่สองคือหารายไดเพิ่ม ใน
                     งานวิจัยนี้การลดรายจายที่พบคือการตัดรายจายที่ไมจําเปนออก เพื่อลดภาระการจายเงินออกจาก

                     ครอบครัวโดยการปรับพฤติกรรมรายจายฟุมเฟอย การลดรายจายที่จําเปนลงถึงแมจะเปนรายจาย
                     ที่จําเปน แตเพื่อสรางนิสัยการใชทรัพยากรใหคุมคา โดยการปลูกผักผลไมตามฤดูกาลไว

                     รับประทานเองชวยลดภาระคาอาหารและคาเดินทางไปตลาด อีกทั้งยังสงผลตอสุขภาพอีกดวย
                     และ การเพิ่มรายไดคือการทําอาชีพอื่นควบคูกับการปลูกขาว การหารายไดเสริมนอกเวลาทํางาน

                     ปกติ การใชเวลาวางในการรับจางทั่วไป สิ่งเหลานี้ทําใหเกษตรกรสามารถพึ่งพาตนเองไดในระดับ
                     หนึ่ง แตการปรับตัวของเกษตรกรตองพึ่งพาตนเองไดในระยะยาวดวยการสรางสมดุลใหรายได

                     มากกวารายจาย ลดการเขารวมนโยบายที่ทําใหเกิดหนี้สินขึ้นในระยะยาว จึงจะทําใหการ
                     ดํารงชีวิตมีแนวทางในการสรางสมดุลไดในดานเศรษฐกิจ พบวาเงื่อนไขสําคัญที่ทําใหเกษตรกร

                     ปรับตัวไดดีคือ เกษตรกรสามารถใชจายเงินที่หามาไดใหเกิดประสิทธิภาพสูงสุดคือใชใหนอยกวา
                     ที่หามาได และขยันหมั่นเพียรในการหารายไดเพิ่มมากขึ้นดวยการทํางานที่หลากหลาย มีอาชีพ

                     หลักมากกวา 1 อาชีพ นอกจากนี้เกษตรกรสามารถลดตนทุนการผลิตไดจะทําใหรายจายลดลง
                     และรัฐบาลควรมีนโยบายสนับสนุนใหเหมาะสมโดยนโยบายนั้นจะตองไมทําใหเกษตรกรมีหนี้สิน

                     หรือภาระผูกพันในอนาคต หรือหากเปนหนี้สินก็ตองเปนหนี้สินที่กอใหเกิดรายได
   110   111   112   113   114   115   116   117   118   119   120