Page 114 -
P. 114
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
86
การปรับตัวของเกษตรกรที่ปรากฏในรูปแบบที่หลากหลายนี้ ไดสอดคลองกับงานวิจัยของ
ไชยรัตน ปราณีและคณะ (2550) ที่พบวา ครัวเรือนสรางจิตสํานึกแกครัวเรือนที่ยากจนเพื่อลด
รายจายที่ไมจําเปนตัดวงจรหนี้ ดําเนินชีวิตตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงปลูกผักสวนครัวรั้วกินได
หรือเลี้ยงสัตวไวบริโภค
ตารางที่ 4.25 ขอเสนอแนะเพิ่มเติมในการเพิ่มรายได
ลําดับความ วิธีการ รูปแบบ
คิดเห็น
1 การรับจางทั่วไป 1.ทํางานในโรงงานที่ตั้งอยูใกล
(ความถี่ = 12 ) หมูบาน
2. ทํางานรับจางกอสราง
3. ขับรถรับสงนักเรียน
2 ปลูกพืชและสัตวเศรษฐกิจไวขาย 1. พืชเศรษฐกิจคือ แตงโม
(ความถี่ = 10 ) แตงกวา ถั่วฝกยาว หอมแดง
กระเทียม
2.สัตวเศรษฐกิจคือ เปด ไก วัว
ควาย และหมู
3 การคาขาย 1.ขายเสื้อผามือสองตามตลาดนัด
(ความถี่ = 8 ) 2. ขายอาหารในหมูบาน
3. การขายผลิตภัณฑจาก
การเกษตรริมถนน
4 รวมกลุมเพื่อทําอาชีพเสริม 1. สินคาหัตถกรรมเครื่องใชใน
(ความถี่ = 6 ) ครัวเรือน เสื่อ กระติ๊บขาว
อุปกรณหาปลา
2. การเพาะเห็ด
5 ปรับพฤติกรรมการใชชีวิต 1. ลงทุนในภาคการเกษตรให
(ความถี่ = 12 ) เหมาะสมกับฐานะทางเศรษฐกิจ
ของครัวเรือน
2. ขยันหมั่นเพียร ไมเกี่ยงงาน
3. ทํางานทุกชนิดที่สุจริตและสราง
รายได
ที่มา: จากการสัมภาษณ