Page 16 -
P. 16
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
12
ระยะอะนาเฟสของการแบงเซลล เซนโตรเมียรทั้งสองของโครโมโซมที่เกิดอินเวอรชันนั้นแยกออก
จากกันไปอยูคนละขั้วเซลล ทําใหโครโมโซมมีรูปรางคลายสะพาน ซึ่งสะพานนี้อาจขาดออกจากกัน
โดยแรงดึงของสายใยสปนเดิลที่ยึดอยูกับเซนโตรเมียร ทําใหไดโครมาติด (chromatid) 2 แทงที่มีสวน
ปลายแตกหัก โครมาติดที่มีปลายแตกหักนี้มีแนวโนมที่จะมาเชื่อมตอกันใหม (fusion) ทําใหได
โครโมโซมที่มีเซนโตรเมียร 2 อัน ปรากฏการณนี้อาจเกิดขึ้นไดอีกในการแบงเซลลครั้งตอ ๆ ไป
McClintock (1944) ไดศึกษาพฤติกรรมโครโมโซมแบบนี้ในขาวโพดและเรียกวาวัฎจักรการแตกหัก-
เชื่อมตอ-สรางสะพาน (breakage-fusion-bridge cycle)
รูปที่ 2.2 รูปรางโครโมโซมตามตําแหนงของเซนโตรเมียร 4 แบบ
A โครโมโซมที่มีเซนโตรเมียรอยูตรงปลาย (telocentric)
B โครโมโซมที่มีเซนโตรเมียรอยูคอนไปทางปลาย (subtelocentric)
C โครโมโซมที่มีเซนโตรเมียรอยูเกือบตรงกลาง (submetacentric)
D โครโมโซมที่มีเซนโตรเมียรอยูตรงกลาง (metacentric)
2.2.3 นิวคลีโอลัส ออรกาไนเซอร รีเจียน (nucleolus organizer region) นอกจากรอยคอดแหงแรก
(primary constriction) บนโครโมโซมซึ่งเปนสวนของเซนโตรเมียรแลว โครโมโซมบางอันยังมีรอย
คอดแหงที่สอง (secondary constriction) เกิดขึ้นดวย (รูปที่ 2.1) รอยคอดแหงที่สองเปนที่อยูของยีน
(multicopy gene) ที่ควบคุมการสรางนิวคลีโอลัส (nucleolus) เราจึงเรียกวาบริเวณที่สรางนิวคลีโอลัส
(nucleous organizer region หรือ NOR) นอกจากนั้นบริเวณนี้ยังเปนที่อยูของยีน (multicopy gene) ซึ่ง