Page 15 -
P. 15

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                        11






                               โดยคาอัตราสวนระหวางความยาวแขนขางสั้นกับแขนขางยาว  และดัชนีเซนโตรเมียรจะ

                     บอกใหทราบวาเปนโครโมโซมชนิดที่มีเซนโตรเมียรอยูตรงปลาย  คอนไปทางปลาย  เกือบตรงกลาง

                     หรือตรงกลาง























                     รูปที่ 2.1  โครโมโซมเซลลปลายรากของถั่วปากอา (Vicia faba) ในระยะเมตาเฟส Cm = เซนโตรเมียร

                                      Sc =  เซคันดารี คอนสตริคชัน S =  แซทเทลไลท M =  โครโมโซมที่มีเซนโตรเมียรอยูตรง

                                     กลาง (metacentric) สวนโครโมโซมที่เหลือเปนโครโมโซมที่มีเซนโตรเมียรอยูคอนไปทาง
                                     ปลาย (subtelocentric)



                               เซนโตรเมียรเปนจุดที่ยึดเกาะของสายใยสปนเดิล  (spindle fiber)  หรือไมโครทูบูล
                     (microtubule) ในการแบงเซลลแบบไมโตซิสที่ระยะอะนาเฟส (anaphase) ตําแหนงของเซนโตรเมียร

                     จะเปนตัวกําหนดรูปรางโครโมโซมในขณะที่โครโมโซมเริ่มเคลื่อนที่เขาสูขั้วเซลล  ถาหากเซนโตร

                     เมียรอยูตรงกลางโครโมโซมจะมีรูปรางเปนรูปตัววี  (V shape)  เกือบตรงกลางเปนรูปตัวแอล  (L)
                     คอนขางไปทางปลายเปนรูปตัวเจ (J shape) และหากอยูตรงปลายจะเปนรูปแทง (rod shape) หรือรูป

                     ตัวไอ (I)  (รูปที่ 2.2)

                               โครโมโซมสวนมากจะมีเซนโตรเมียรเพียงหนึ่งอันตอหนึ่งโครโมโซม (monocentric) แต

                     ก็มีโครโมโซมบางแทงที่มีเซนโตรเมียร 2 อัน (dicentric) ซึ่งมักจะเกิดจากการชักนําโดยรังสีหรือเปน
                     ผลเนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลงในโครงสรางของโครโมโซมแบบอินเวอรชัน  (inversion)  โดยใน
   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20