Page 11 -
P. 11

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                         7





                                   1986               Powell-Abel และคณะไดพัฒนายาสูบ  และมะเขือเทศจําลองพันธุ
                                                      ที่ตานทานตอเชื้อไวรัส  TMV    โดยการถายทอดยีนที่ควบคุมการ

                                                      สรางโปรตีนหอหุมเชื้อไวรัส (coat protein gene)

                                   1987               Sanford  และคณะ  กับ  Klein  และคณะคนพบวิธีการถายทอดยีน

                                                      หรือดีเอ็นเอใหกับพืชโดยการใชปนยิงกระสุนที่เคลือบดวยดีเอ็น
                                                      เอ (biolistic)

                                   1987               Barton  และคณะไดสกัดแยกยีน  bt    ที่ควบคุมการสรางโปรตีนที่

                                                      เปนพิษตอแมลงจากแบคทีเรีย ชื่อวา Bacillus thuringiensis
                                   1990               Williams และคณะ กับ Welsh และ McClelland ไดพัฒนาเทคนิค

                                                      Random Amplified Polymorphic DNA (RAPD)

                                   1991               Fodor ไดพัฒนาระบบ DNA microarray system โดยใชระบบการ
                                                      สังเคราะหทางเคมีดวยแสงโดยตรง  (light  directed  chemical

                                                      synthesis system)

                                   1995               Fleischmann  และคณะไดรายงานลําดับเบสที่สมบูรณของยีโนม
                                                      (genome) ของ Haemophilus influenzae

                                   1995               Vos และคณะไดพัฒนาลายพิมพดีเอ็นเอ โดยใชเทคนิค Amplified

                                                      Fragment Length Polymorphism (AFLP)
                                   1997               Blattner และคณะไดจัดทําลําดับเบสของยีโนมของ E. coli

                                   1998               มีการจัดทําลําดับเบสของยีโนมของสิ่งมีชีวิตหลายเซลล

                                                      (Caenorhabditis elegans)  โดยความรวมมือของหลายหนวยงาน

                                                      (C. elegans Sequencing Consortium)
                                   2001               มีการจัดทําลําดับเบสของยีโนมมนุษยเสร็จสิ้นสมบูรณ โดย

                                                      โครงการความรวมมือเพื่อจัดทํายีโนมมุนย (Human  Genome

                                                      Project Consortium) กับ Venter และคณะ


                               จะเห็นไดวา วิชาเซลลพันธุศาสตรและพันธุศาสตรมีการพัฒนาและกาวหนาไปอยางรวดเร็ว

                     และแตกแขนงเปนสาขาวิชาใหม ๆ อีกหลายวิชา เชน เทคโนโลยีชีวภาพ (biotechnology) พันธุศาสตร
                     โมเลกุล (molecular genetics) พันธุวิศวกรรม (genetic engineering) ชีวสารสนเทศ (bioinformatics)

                     และโปรทีโอมิคส  (proteomics)  ปจจุบันความรูในสาขาวิชาตาง ๆ เหลานี้   โดยเฉพาะอยางยิ่งความรู

                     เกี่ยวกับเทคนิคการตัดตอยีนเขาไปในพลาสมิดของแบคทีเรียเพื่อเพิ่มปริมาณยีน การถายทอดพลาสมิด
                     ที่มียีนที่ตองการเขาไปในสิ่งมีชีวิตตาง ๆ สามารถนําไปใชประโยชนในดานตาง ๆ มากมาย เชน ทาง

                     อุตสาหกรรมเพื่อสังเคราะหหรือผลิตสารเคมีชนิดตาง  ๆ  ทางการแพทยเพื่อรักษาโรคทางพันธุกรรม
   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16