Page 10 -
P. 10
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
6
1970 Caspersson และคณะคนพบเทคนิคการยอมแถบสีโครโมโซม
แบบคิว (Q-banding) โดยใชสารเรืองแสง
1973 Cohen และ Chang คนพบเทคนิคการเพิ่มปริมาณยีนหรือดีเอ็นเอ
โดยนําดีเอ็นเอสอดแทรกเขาไปในพลาสมิดของแบคทีเรีย แลวนํา
แบคทีเรียไปเลี้ยงเพิ่มจํานวน เทคนิคนี้เรียกวาดีเอ็นเอโคลนนิง
(DNA cloning) พลาสมิดที่มีดีเอ็นเอ หรือชิ้นสวนของยีนที่
ตองการอยูดวย เรียกวา พลาสมิดลูกผสม (recombinant plasmid)
วิธีการนี้ชวยเพิ่มปริมาณดีเอ็นเอที่ตองการใหมากขึ้นเพียงพอ
แกการนําไปศึกษาหาชนิดและลําดับของนิวคลีโอไทดในดีเอ็นเอ
และการแสดงออกของยีน (gene expression)
1975 Khorana สามารถสังเคราะหยีนในหลอดทดลองได
1975-1977 Sanger และ Coulson กับ Maxam และ Gilbert คนพบเทคนิคการ
หาชนิดและลําดับของนิวคลีโอไทดในดีเอ็นเออยางรวดเร็ว
1977-1978 Sanger และนักวิทยาศาสตรอื่น ๆ พบวายีนอาจอยูเหลื่อมซอนกัน
ได หรือมีชองวางระหวางกัน ทําใหยีนไมสามารถทําหนาที่ได
1978 Villa-Kamarov และคณะไดตัดตอยีนอินซูลิน (insulin gene) เขา
ไปในแบคทีเรียเพื่อสังเคราะหอินซูลินสําหรับบําบัดรักษาคนที่
เปนโรคเบาหวาน
1980 Botstein และคณะไดพัฒนาเทคนิค Restriction Fragment Length
Polymorphism (RFLP) ซึ่งเปนเทคนิคการตัดดีเอ็นเอใหเปนทอน
สั้น ๆ โดยอาศัยเอนไซมตัดจําเพาะเพื่อทําลายพิมพดีเอ็นเอ (DNA
fingerprint)
1982 Krens และคณะไดตัดตอดีเอ็นเอเปลือยเปลา (naked DNA) เขาไป
ในโปรโตพลาสตเพื่อทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม
(genetic transformation)
1983 Karry Mullis ไดคนพบปฏิกิริยาลูกโซ (Polymerase Chain
Reaction หรือ PCR) เพื่อเพิ่มปริมาณดีเอ็นเอ
1984 De Block และคณะกับ Horsch และคณะไดสรางยาสูบจําลองพันธุ
(transgenic tobacco) โดยการถายทอดดีเอ็นเอดวยตัวพาหะที่เปน
แบคทีเรีย Agrobacterium
1984 Jeffreys ไดพัฒนาลายพิมพพันธุกรรม (genetic fingerprinting)
เพื่อบงบอกถึงสิ่งมีชีวิตแตละตัว/ตน โดยการวิเคราะหความ
แตกตางของลําดับเบสของดีเอ็นเอ (base sequence)