Page 7 -
P. 7
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
3
1910 Morgan พบการถายทอดลักษณะที่ถูกควบคุมดวยยีนบน
โครโมโซมเพศในแมลงหวี่
1912 Morgan ทําแผนที่ยีนในแมลงหวี่
1913 Sturtevant ใชวิธีการผสมทดสอบ 3 จุด (three-point test cross)
ในการหาตําแหนงและระยะทางระหวางยีน
1913, 1917 Carothers คนพบความสัมพันธระหวางการถายทอดหนวย
พันธุกรรมกับการถายทอดโครโมโซมไปยังลูกหลาน
1917, 1919, 1921 Bridges พบการเปลี่ยนแปลงในโครงสรางโครโมโซมชนิดที่มี
การขาดหายไป (deficiency) การเพิ่มขึ้นมา (duplication)
และการแลกเปลี่ยนชิ้นสวนระหวางโครโมโซม (translocation)
ในแมลงหวี่
1921 Sturtevant พบการเปลี่ยนแปลงในโครงสรางโครโมโซมชนิดที่
มีการขาดแลวตอกลับทิศทางของชิ้นสวนโครโมโซม (inversion)
1924 Fuelgen และ Rossenbeck คนพบสีที่ยอมติดเฉพาะดีเอ็นเอ (DNA)
1927 Longley พบโครโมโซม-บี (B-chromosome) ในขาวโพด
1927 Muller และ Stadler ชักนําใหเกิดการกลายพันธุโดยใชรังสีเอ็กซ
(x-ray)
1928 Heitz พบความแตกตางระหวางบริเวณโครโมโซมที่ยอมติดสีเขม
(heterochromatin) และยอมติดสีจาง (euchromatin)
1931 Stern, Creighton และ McClintock พิสูจนวา การแลกเปลี่ยนยีน
เกิดจากการแลกเปลี่ยนชิ้นสวนของโครโมโซม (crossing over)
1933 Painter ใชโครโมโซมจากเซลลตอมน้ําลายแมลงหวี่ (polytene)
ในการศึกษาเซลลพันธุศาสตร
1934 McClintock คนพบนิวคลีโอลาร ออรกาไนเซอร (nucleolar
organizer) ในขาวโพด
1936 Stern พบการแลกเปลี่ยนชิ้นสวนโครโมโซมในระหวางการแบง
เซลลแบบไมโตซิส
1937 Sax เริ่มใชรังสีเอ็กซในการศึกษาทางดานเซลลวิทยา และเซลล
พันธุศาสตร
1937 Blakeslee และ Eigsti ใชโคชิซิน (colchicine) ยับยั้งขบวนการ
แบงเซลลแบบไมโตซิส