Page 21 -
P. 21

nuclcolus
                  โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
                                                                                                        17






                        2.3.5 ปม  (knop) ในพืชบางชนิด เชน ขาวโพด อัลฟาฟา โครโมโซมในระยะพะคีทีนจะมีสวนที่

                     ยอมติดสีเขมมากมองดูคลายปม  (รูปที่  2.7)  ปมดังกลาวก็คือ  โครโมเมียรที่มีขนาดใหญจนมองเห็น

                     เปนปมนั่นเอง  สวนมากจะมีตําแหนงอยูตรงสวนปลายโครโมโซมมากกวาตรงสวนกลาง  อยางไรก็

                     ตาม ขนาด ตําแหนง และจํานวนของปมจะคงที่ในสิ่งมีชีวิตแตละสายพันธุ (race) แตจะแตกตางกันไป
                     ในระหวางสายพันธุของสิ่งมีชีวิต




















                     รูปที่ 2.7  ปม (knop) ซึ่งอยูบนโครโมโซมของขาวโพดและทีโอซินเต (teosinte) ซึ่งเปนบรรพบุรุษ
                               ของขาวโพด



                     บรรณานุกรม



                     ชัยฤกษ  มณีพงษ. 2527.  เซลพันธุศาสตร. ภาควิชาพืชไรนา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, กรุงเทพฯ.


                     McClintock, B. 1930. A cytological demonstration of the location of an interchange between two

                            non-homologous chromosomes of Zea mays. Proc. Natl. Acad. Sci. U.S.A. 16 : 791-796.


                                   . 1944. The relation of homozygous deficiency to mutation and allelic series in maize.

                            Genetics 29 : 478-502.


                     Schulz-Schaeffer, J. 1980. Cytogenetics : Plants, Animals, Humans. Springer-Verlag New York

                            Inc., New York.
   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26