Page 23 -
P. 23

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                        19






                                                            บทที่ 3

                                                 โครงสรางโมเลกุลของโครโมโซม

                                              (Molecular Structure of Chromosome)



                     3.1 คํานํา


                               ปจจุบันความรูพื้นฐานเกี่ยวกับโครงสรางโมเลกุล (molecular structure) ของโครโมโซม

                     ยังไมสมบูรณ โดยเฉพาะอยางยิ่งโครโมโซมของพืชและสัตวขั้นสูง (eukaryote)  ซึ่งมีความ

                     สลับซับซอนมาก เนื่องจากโครโมโซมของสิ่งมีชีวิตขั้นสูง (eukaryote) ประกอบดวยกรดนิวคลีอิค
                     (nucleic acid)  ชนิดกรดดีออกซีริโบนิวคลีอิค (deoxyribonucleic acid)  หรือ ดีเอ็นเอ (DNA)  และ

                     โปรตีนอยางละประมาณ 50 เปอรเซ็นต ซึ่งแตกตางไปจากโครโมโซมของสิ่งมีชีวิตขั้นต่ํา

                     (prokaryote)  พวกแบคทีเรียและไวรัส ซึ่งประกอบดวยดีเอ็นเอหรือกรดริโบนิวคลีอิค (ribonuoleic
                     acid) หรืออารเอ็นเอ (RNA) เพียงอยางใดอยางหนึ่ง กรดนิวคลีอิค (nucleic acid) ไมวาจะเปนดีเอ็นเอ

                     หรืออารเอ็นเอรวมกับโปรตีนเปนหัวใจสําคัญในการถายทอดพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิต โดยดีเอ็นเอ

                     (หรืออารเอ็นเอในไวรัสบางชนิด) เปนตัวเก็บรหัสหรือขอมูลทางพันธุกรรม ความรูเกี่ยวกับ

                     โครงสรางระดับโมเลกุลของโครโมโซม ไดจากการศึกษาโดยใชเทคนิคพิเศษตาง ๆ เชน การวิเคราะห
                     ทางเคมี การใชเทคนิคเอกซเรย ดิฟแฟรกชัน (x-ray diffraction) การใชกลองจุลทรรศนอิเลคตรอน

                     และวิธีออโตเรดิโอกราฟ (autoradiography)


                     3.2 โครงสรางของดีเอ็นเอ


                               ดีเอ็นเอหรือสารพันธุกรรมของเซลลทุกเซลลเปนโพลิเมอร (polymer) ของดีออกซิริโบ

                     นิว คลีโอไทด (deoxyribonucleotide) โครงสรางขั้นพื้นฐาน (primary structure) ของดีเอ็นเอ เรียกวา

                     นิวคลีโอไทด (nucleotide) ซึ่งประกอบดวยโมเลกุล 3 ชนิด คือ เกลือฟอสเฟต (phosphate) น้ําตาล

                     เพนโตส (pentose sugar)  ชนิดดีออกซีไรโบส (deoxyribose)  และเบส (nitrogenous base)  โดย
                     โมเลกุลของน้ําตาลจะเกาะยึดกับเกลือฟอสเฟส และน้ําตาลแตละโมเลกุลจะจับกับเบส 1 ตัว เบสยัง

                     แบงออกเปน 2 ประเภท คือ พิวรีน (purine) ซึ่งไดแก อะดีนีน (adenine, A) และกัวนีน (guanine, G)

                     และไพริมิดีน (pyrimidine) ซึ่งไดแก ไซโตซีน (cytosine, C) และไทมีน (thymine, T) นิวคลีโอไทด
                     หลาย ๆ ตัวจะมาเชื่อมตอกันดวยพันธะเคมีฟอสเฟตไดเอสเตอร (phosphatediester bond) เปนสายยาว

                     เรียกวา โพลีนิวคลีโอไทด (polynucleotide) โครงสรางขั้นที่สอง (secondary structure) ของดีเอ็นเอ มี

                     ผูเสนอไวหลายรูปแบบ Wilkins และ Randall (1953) ไดทําการศึกษาดีเอ็นเอในสวนหัวสเปรมของ
                     ปลาหมึก โดยใชเทคนิคเอกซเรย ดิฟแฟรกชัน เทคนิคนี้เปนการหาภาพสะทอนของรังสีเอกซที่ฉาย

                     ผานผลึกของดีเอ็นเอ ทําใหเกิดภาพบนแผนฟลมพิเศษ ภาพที่ไดแสดงใหเห็นวาเสนสายโพลินิวคลีโอ
   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28