Page 27 -
P. 27

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                        23






                     3.3 โครงสรางของอารเอ็นเอ (structure of RNA)



                               กรดริโบนิวคลีอิคหรืออารเอ็นเอมีโครงสรางและหนาที่คลายคลึงกับดีเอ็นเอ  แตดีเอ็นเอ
                     และอารเอ็นเอแตกตางกันตรงองคประกอบของน้ําตาลเพนโตส  โดยน้ําตาลเพนโตสของอารเอ็นเอจะ

                     เปนไรโบส (ribose) แทนที่จะเปนดีออกซีไรโบสเชนในดีเอ็นเอ นอกจากนี้อารเอ็นเอจะไมมีเบสชนิด

                     ไทมีนแตจะมีเบสชนิดยูราซิล (uracil) แทนในกลุมของเบสประเภทไพริมิดีน


                               ตรงกันขามกับดีเอ็นเอโมเลกุลของอารเอ็นเอประกอบดวยสายโพลีนิวคลีโอไทดสายเดี่ยว

                     (single strand) อารเอ็นเอเปนองคประกอบที่สําคัญของสารพันธุกรรมในสิ่งมีชีวิตพวกไวรัส ในไวรัส
                     ดีเอ็นเอจะถูกทดแทนโดยอารเอ็นเอ หนาที่หลักของอารเอ็นเอในเซลลสิ่งมีชีวิตทั่ว ๆ ไปจะเกี่ยวของ

                     กับขบวนการสังเคราะหโปรตีนของดีเอ็นเอ โดยมีอารเอ็นเอชนิดหนึ่งทําหนาที่ถอดรหัสดีเอ็นเอ

                     (transcription) เรียกวา เมสเซนเจอร อารเอ็นเอ (messenger RNA) หรือ เอม-อารเอ็นเอ (m RNA) และ
                     อารเอ็นเอที่ทําหนาที่แปลรหัสของเอม-อารเอ็นเอ (translation) เพื่อนํากรดอะมิโน (amino acid) ชนิด

                     ตาง ๆ มาเรียงตัวกันตามลําดับบนสายเอม-อารเอ็นเอ เพื่อประกอบกันเปนโมเลกุลของโปรตีน เรา

                     เรียกอารเอ็นเอชนิดนี้วา ทรานสเฟอร อารเอ็นเอ (transfer RNA)  หรือ ที-อารเอ็นเอ (t RNA)

                     นอกจากนี้ยังมีอารเอ็นเออีกชนิดหนึ่งคือ ไรโบโซมอล อารเอ็นเอ (ribosomal  RNA) หรือ อาร-อาร
                     เอ็นเอ (r RNA) เปนองคประกอบที่สําคัญของไรโบโซมซึ่งเปนออรกาเนลล (organelle) ที่อยูในไซ

                     โตพลาสซึม การสังเคราะหโปรตีนเกิดขึ้นที่ไรโบโซม


                     3.4 โครงสรางโมเลกุลของโครโมโซม


                               ดังที่ไดกลาวไวแลวในตอนตนวาโครโมโซมของสิ่งมีชีวิตชั้นสูง ประกอบดวยดีเอ็นเอและ

                     โปรตีนอยางละประมาณ  50  เปอรเซ็นต  โปรตีนที่เกี่ยวของกับดีเอ็นเอในนิวเคลียสก็คือ  ฮิสโตน

                     (histone) ซึ่งเปนโปรตีนขนาดเล็กประกอบดวยกรดอะมิโน 100-200 ตัว และแตกตางจากโปรตีนสวน
                     ใหญตรงที่ 20-30 % ของกรดอะมิโนเปนชนิด lysine และ arginine ทําใหฮิสโตนมีประจุเปนบวก จึง

                     จับกับโมเลกุลของดีเอ็นเอไดอยางเหนียวแนน นอกจากนี้อาจมีอารเอ็นเอเปนองคประกอบรวมอยูดวย

                     มีแคลเซียมและแมกนีเซียมเปนตัวชวยทําใหโครโมโซมคงรูปรางเปนเสนตรงอยูได  ในสิ่งมีชีวิตชั้น

                     สูงดีเอ็นเอจะอยูรวมกับโปรตีนอยางสลับซับซอน   เพื่อประกอบกันขึ้นเปนสายใยนิวคลีโอโปรตีน
                     (nucleoprotein) หรือที่เรียกกันวาสายใยโครมาติน (chromatin fiber) (Watson, 1976) สายใยโครมาติน

                     นี้พบเกิดขึ้นในระยะโปรเฟส  (prophase)  ของการแบงเซลล  ยอมติดสีไดทําใหมองเห็นมีลักษณะเปน

                     เสนสายที่มีความยาวผันแปรระหวาง 10-100 นาโมเมตรจนถึงหลายเซนติเมตร เราสามารถสกัดสายใย

                     โครมาตินออกมาจากนิวเคลียสของเซลลได  จากการศึกษาดวยเครื่องอิเลคตรอนไมโครกราฟพบวา
                     สายใยโครมาตินนี้ประกอบดวยปมคลายลูกปดเรียงกันไปตลอดความยาวเสน ปมเหลานี้เรียกวานิวคลี
   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32