Page 157 -
P. 157

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                       153






                     ของอาหารที่ใชเพาะเลี้ยง 2) ตนพืชที่ไดจากการเพาะเลี้ยงอับละอองเกสรมิไดมีแตเฉพาะตนที่มี

                     จํานวนโครโมโซมเพียงชุดเดียวหรือตนแฮพลอยด ยังประกอบดวยตนที่มีจํานวนโครโมโซมสองชุด

                     หลายชุด และพวกที่มีโครโมโซมบางแทงเกินมาหรือขาดหายไป ในพืชบางขนิดตนพืชที่มีโครโมโซม
                     เพียงชุดเดียวมีอัตราต่ํามาก 3) ในการเพาะเลี้ยงอับละอองเกสรของพืชพวกธัญพืช (cereal) ตนพืชที่ได

                     สวนมากมักเปนตนเผือก (albino) ซึ่งเปนลักษณะที่ไมเปนประโยชน การผลิตตนแฮพลอยดจากการ

                     เพาะเลี้ยงอับละอองเกสรสวนใหญประสบผลสําเร็จในพืชตระกูลยาสูบ (Nitsch, 1969) และตระกูล

                     กระหล่ํา (Keller and Armstrong, 1983) นอกจากนี้ก็ยังมีรายงานความสําเร็จในพืชอื่น ๆ อีกหลายชนิด
                     เชน ขาว (Niizeki and Oono, 1968) ขาวสาลี (Shimada,  1981) ขาวบารเลย (Mix et al., 1978) มะเขือ

                     เทศ (Grosshoff and Doy, 1972) มันฝรั่ง (Dunwell and Sunderland, 1973) และพริก (George and

                     Narayanaswamy, 1973) เปนตน ในระยะเวลา 20 ปที่ผานมานี้เรามีความกาวหนามากในการผลิตตน
                     แฮพลอยด จากการเพาะเลี้ยงอับละอองเกสร และละอองเกสร ของพืชชนิดตาง ๆ ถึง 247 ชนิด จาก 88

                     สกุล และ 34 ตระกูล

                          14.3.7  การขจัดทิ้งโครโมโซม (chromosome elimination) Kasha และ Kao (1970) เปนคนแรก

                     ที่พบตนแฮพลอยดซึ่งเปนผลเนื่องมาจากการขจัดทิ้งโครโมโซม โดยการผสมขามระหวางขาวบารเลย
                     พันธุปลูก (Hordeum vulgare, 2n = 14) กับขาวบารเลยพันธุปา (H. bulbosum, 2n = 14) แลวนําคัพภะ

                     ของขาวบารเลยลูกผสมนี้มาเพาะเลี้ยงบนอาหารสังเคราะหเพื่อชักนําใหคัพภะเจริญเปนตน มิฉะนั้น

                     คัพภะจะตายกอนที่จะเจริญเปนเมล็ด เขาไดรับตนขาวบารเลย (H. vulgare) ที่เปนแฮพลอยด 23 ตน
                     จากการเพาะเลี้ยงคัพภะ 209 อัน (11.0 %)  ตนขาวบารเลยที่เปนแฮพลอยดนี้เกิดจากเซลลที่ไมมี

                     โครโมโซมของ H.  bulbosum  เนื่องจากโครโมโซมของ H.  bulbosum  คอย ๆ ถูกขจัดออกไปใน

                     ระหวางการแบงเซลลของคัพภะ (Subrahmanyam and Kasha, 1973) โดยพบวาภายหลังการผสมเกสร
                     3-5 วัน 40 % ของเซลลคัพภะเปนแฮพลอยด แตภายหลังการผสมเกสร 11 วัน 94 % ของเซลลคัพภะ

                     เปนแฮพลอยด สาเหตุอยางหนึ่งที่ทําใหโครโมโซมของ H. bulbosum ถูกขจัดออกไปอาจเปนเพราะ

                     ระยะเวลาที่ใชในการแบงเซลลของขาวบารเลยพันธุปลูกกับพันธุปาแตกตางกัน โดยพันธุปาใชเวลา

                     ยาวนานกวาพันธุปลูก ดังนั้นโครโมโซมของ H.  bulbosum  จึงถูกขจัดออกไป เทคนิคการผลิตตน
                     แฮพลอยดในขาวบารเลยโดยใชวิธีการขจัดทิ้งโครโมโซมของ H. bulbosum ออกไป มีชื่อเรียกกัน

                     ทั่วไปวา bulbosum technique  นอกจากนั้นวิธีการนี้ยังนํามาใชในการผลิตตนขาวสาลีแฮพลอยด

                     (Laurie and Bennett, 1988) โดยการผสมขามระหวางขาวสาลี (Triticum aestivum, 2n = 42)  กับ
                     ขาวโพด (2n = 20) ในระหวางการเพาะเลี้ยงคัพภะลูกผสมที่ไดโครโมโซมของขาวโพดถูกขจัดทิ้ง

                     อยางรวดเร็ว ในที่สุดไดตนขาวสาลีแฮพลอยด (n = 21) จํานวน 31 ตนจากจํานวนคัพภะที่เพาะเลี้ยง

                     ทั้งหมด 706 อัน (4.4 %)
   152   153   154   155   156   157   158   159   160   161   162