Page 159 -
P. 159

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                       155






                     14.6 การตรวจสอบจํานวนชุดโครโมโซมของตนแฮพลอยด

                               การตรวจสอบจํานวนชุดโครโมโซมของตนพืชที่สงสัยวา จะเปน แฮพลอยด, ดิพลอยด

                     หรือโพลีพลอยด นั้นทําไดงายโดยการสกัดดีเอ็นเอจากเซลลของตนพืชที่สงสัย แลววัดปริมาณดีเอ็นเอ

                     ดวยเครื่องมือที่มีชื่อวา flow cytometry   ซึ่งเปนวิธีที่มีประสิทธิภาพมากที่สุด วิธีที่มีประสิทธิภาพ
                     รองลงมา คือ การนับจํานวนโครโมโซมจากเซลลเนื้อเยื่อเจริญของปลายราก (root tip)  หรือเซลล

                     เนื้อเยื่อคัพภะ (embryonic tissue) นอกจากนี้ยังสามารถดูไดจากอัตราการติดเมล็ดของพืชภายหลังการ

                     ออกดอก ถาอัตราการติดเมล็ดต่ําหรือไมติดเมล็ดเลย แสดงวาเปนแฮพลอยด แตถาอัตราการติดเมล็ด
                     สูงแสดงวาเปนดิพลอยด



                     14.7 การผลิตพืชดิพลอยดจากแฮพลอยด


                               โดยสวนมากตนพืชที่เปนแฮพลอยดจะไมมีประโยชนตอการปรับปรุงพันธุพืช ตนแฮ
                     พลอยดที่สามารถนําไปใชประโยชนในการปรับปรุงพันธุพืชโดยตรงมีนอยชนิดมาก พบไดในพืช

                     พวกไมดอกไมประดับ เชน Pelagronium พันธุ Kleiner Liebling ซึ่งมีลําตน ใบ และดอกขนาดเล็ก

                     พืชแฮพลอยดจะมีประโยชนในการปรับปรุงพันธุพืชเมื่อมีการเพิ่มจํานวนชุดโครโมโซมของตน

                     แฮพลอยดขึ้นเปนสองเทา (chromosome doubling) เพื่อผลิตพืชสายพันธุแทที่เปนดิพลอยด และมียีน
                     ทุกตัวอยูในสภาพที่เปนโฮโมไซกัน (homozygous diploid) และสายพันธุแทที่ไดจะนําไปใชในการ

                     ผลิตพันธุลูกผสม (hybrid variety) ตอไป ซึ่งวิธีการเพิ่มจํานวนชุดโครโมโซมเปนสองเทาสามารถ

                     กระทําไดหลายวิธีดังนี้

                          14.7.1  การตัดยอด (decapitation) การตัดยอดและการขจัดตาขางออกไป แลวทําใหบริเวณรอย
                     ตัดไดรับความชื้นสูง ๆ โดยการหอหุมดวยพีทมอสส (peat moss) จะทําใหตนออนที่งอกออกมาตรง

                     บริเวณรอยตัดมีจํานวนโครโมโซมเพิ่มขึ้นเปน 2 เทาได วิธีนี้ใชไดผลในกะหล่ําปลี

                          14.7.2  การใชความรอน (heat treatment) การทําใหตนแฮพลอยดไดรับความรอนสูงประมาณ
                     38-45°C โดยการหุมยอดหรือตนแฮพลอยดดวยแผนผาที่รอน หรือนําตนแฮพลอยดไปไวในหองที่มี

                     อุณหภูมิดังกลาว อาจทําใหยอดที่งอกออกมาใหมมีจํานวนโครโมโซมเพิ่มขึ้นเปนสองเทาได วิธีการนี้

                     ไดถูกนํามาใชเปนผลสําเร็จในขาว ขาวโพด ขาวบารเลย และขาวไรย
                          14.7.3  การใชสารเคมี (chemical treatment)  สารเคมีที่สามารถชักนําใหจํานวนโครโมโซม

                     เพิ่มขึ้นเปนสองเทามีหลายชนิด เชน โคลชิซีน (colchicine)  โคลซิไมด (colcemide)  โปโลฟลิน

                     (polophillin) อะซีแนพทีน (acenaphene) ไนตรัสออกไซด (nitrous oxide) และสารกําจัดวัชพืชที่ยับยั้ง

                     การสรางสายใยสปนเดิลหรือไมโครทูบูล (antimicrotubule herbicide) เชน โอรีซาลิน (oryzalin) ไตร
                     ฟลูราลิน (trifluralin) และโปรนาไมด (pronamide) เปนตน อยางไรก็ตามโคลชิซีนเปนสารเคมีที่นิยม

                     ใชมากที่สุด โคลชิซีนเปนสารอัลคาลอยด (alkaloid)  ที่สกัดไดจากเมล็ดหรือหัว (corm)  ของตน
   154   155   156   157   158   159   160   161   162   163   164