Page 161 -
P. 161
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
157
ที่ 1 จะพบวาตนดิพลยอดที่ไดมีลักษณะหลาย ๆ อยางแตกตางไปจากตนแมซึ่งเปนลูกผสมชั่วที่ 1 และ
เมื่อทดสอบลูกของตนดิพลอยดเหลานี้จะพบวามีความสม่ําเสมอในลักษณะตาง ๆ ระหวางลูกที่มาจาก
ตนดิพลอยดเดียวกัน ตนดิพลอยดและโพลีพลอยดที่ไดจากการเพาะเลี้ยงอับละอองเกสรอาจเกิดขึ้น
เนื่องมาจากการรวมตัวกันระหวางนิวเคลียส 2 อันของละอองเกสร (nuclear fusion) หรือเกิดจาก
ละอองเกสรที่มีการแบงเซลลผิดปกติแบบเอนโดโมโตซิส ทําใหโครโมโซมเพิ่มขึ้นเปนเทา ๆ โดยที่
ไมมีการแบงนิวเคลียส
14.7.5 การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อเซลลรางกาย (somatic cell) ของตนพืชแฮพลอยด การนําเนื้อเยื่อ
สวนตาง ๆ ของตนพืชที่เปนแฮพลอยด เชน ราก ลําตน ใบ มาเลี้ยงบนอาหารสังเคราะหเพื่อชักนําให
เนื้อเยื่อสรางแคลลัส จากนั้นชักนําใหแคลลัสพัฒนาไปเปนตน (regeneration) ตนพืชที่ไดรับจะมีทั้ง
ตนแฮพลอยด และดิพลอยด เชน Kasperbauer และ Collins (1972) ไดเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อจากสวนเสน
กลางใบแกของยาสูบแฮพลอยด พบวาไดตนดิพลอยดถึง 33 %
14.8 การใชประโยชนแฮพลอยดในการปรับปรุงพันธุพืช
1. เพื่อสรางพืชสายพันธุแทจากลูกผสมชั่วที่ 1 วัตถุประสงคที่สําคัญของนักปรับปรุง
พันธุพืชในการผลิตพืชแฮพลอยดก็เพื่อที่จะใชในการสรางพืชสายพันธุแทใหไดภายในระยะเวลาสั้นๆ
เนื่องจากพืชพวกแฮพลอยดยีนทุกตัวจะอยูเดี่ยว ๆ ไมมีคูของมัน (alleles) ดังนั้นถาเราสามารถเพิ่ม
จํานวนชุดของโครโมโซมขึ้นอีกชุดหนึ่ง ยีนทุกตัวจะเขาสูสภาพโฮโมโซโกซิตี (homozygosity) อยาง
สมบูรณทันทีภายใน 2 ชั่ว กลาวคือ ชั่วแรกเปนการผลิตตนแฮพลอยด และชั่วที่สองเปนการเพิ่ม
จํานวนโครโมโซมทําใหไดพืชสายพันธุแท ดังนั้นการสรางพืชสายพันธุแทจากแฮพลอยดจึงใชเวลา
สั้นมากเมื่อเปรียบเทียบกับการสรางสายพันธุแทโดยวิธีการปรับปรุงพันธุปกติ (conventional
breeding) ซึ่งตองควบคุมใหพืชผสมตัวเองถึง 5-6 ชั่ว พืชจึงจะเขาสูสภาพโฮโมไซโกซิตี
2. ชวยในการผลิตสายพันธุแทจากพืชที่ไมสามารถผสมตัวเองได (self-
incompatibility) เชน เทอรนิป (turnip) เรฟ (rape) และกะหล่ําปลี (Brassica oleracea) หรือใชกับพืช
ที่ดอกตัวผูและตัวเมียอยูแยกกันคนละตน (dioecious plant) เชน มะละกอ และหนอไมฝรั่ง นอกจากนี้
เทคนิคการผลิตพืชสายพันธุแทจากตนแฮพลอยดของไมปา เชน พอบลาร (poplar) จะชวยยน
ระยะเวลาที่ตองใชในการสรางพืชสายพันธุแทโดยการผสมตัวเอง ซึ่งแตละชั่วตองใชเวลาหลายป
3. ชวยขจัดปญหาการเกิดความเสื่อมถอยของลักษณะอันเนื่องมาจากการผสมตัวเอง
ของพืช (inbreeding depression) โดยปกติการผสมตัวเองติดตอกันหลาย ๆ ครั้งของพืชโดยเฉพาะพืช
ที่มีพื้นฐานทางพันธุกรรมแตกตางกันมาก ๆ เชน ลูกผสม จะทําใหลักษณะดอยที่ไมดีแสดงออกมาได
แตการสรางพืชสายพันธุแทจากลูกผสมชั่วที่ 1 โดยการนําอับละอองเกสรไปเพาะเลี้ยง จะไดตนพืช