Page 160 -
P. 160

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                       156






                     autumn chrocus  หรือ Colchicum autumnale  ปกติโคลชิซีนเปนสารเคมีที่มีพิษ แตถาใชในความ

                     เขมขนต่ํา ๆ ก็ไมเปนอันตรายตอพืช ความเขมขนที่เหมาะสมอยูระหวาง 0.001-1.6 % แตโดยทั่วไป

                     นิยมใชที่ความเขมขน 0.2-0.5 %  การใชโคลชิซีนในการเพิ่มจํานวนชุดของโครโมโซมของตนแฮ
                     พลอยด ในทางปฏิบัติทําได 2 วิธี ดังนี้

                                   ก.  ใชชักนําในระยะที่เปนตนพืชเล็ก ๆ (seedling treatment) กระทําไดโดยการจุม

                     ตนออนแพลอยดในสารละลายโคลชิซีน ซึ่งบรรจุในภาชนะกนตื้นนาน 3-24 ชั่วโมง แตถาจะใหดีควร

                     พยายามอยาใหรากจุมลงไปในสารละลาย โดยจุมเฉพาะสวนปลายลําตนลงในสารละลาย สวนรากให
                     ชี้ขึ้นขางบน หรืออาจนําตนกลาหลาย ๆ ตนมัดรวมกัน นําสําลีชุบน้ําหอหุมสวนปลายราก สวนปลาย

                     ยอดใหจุมลงในสารละลายโคลชิซีน นําตนออนที่ผานการแชในสารละลายโคลชิซีนแลวไปปลูกใน

                     กระถางหรือในแปลงจนกระทั่งออกดอก ตรวจสอบวาตนใดบางที่ติดเมล็ดแสดงวาเปนดิพลอยด สวน
                     ตนใดที่ไมติดเมล็ดก็จัดวาเปนแฮพลอยด

                                   ข.  ใชชักนําตรงบริเวณตาหรือยอดที่กําลังเจริญเติบโต (treatment of  growing

                     shoots or buds) กระทําไดโดยการหยดสารละลายโคลชิซีนลงบนยอดหรือตาขางของตนแฮพลอยด

                     ในกรณีนี้จะใชโคลชิซีนความเขมขน 0.5-1.0 % ผสมกับลาโนลิน (lanolin) แลวนําไปหยดหรือปายลง
                     บนสวนยอดหรือตาขาง ควรกระทําซ้ํา 2-3 ครั้งตอสัปดาห หรืออาจทําไดอีกวิธีหนึ่งโดยการจุมสวน

                     ปลายยอดหรือตาขางลงในสารละลายก็ไดผลดีเชนเดียวกัน ยอดที่แตกออกมาใหมจะมีจํานวน

                     โครโมโซมเพิ่มขึ้นเปนสองเทา เมื่อนําไปปลูกจะออกดอกติดเมล็ดได
                          14.7.4  การเพาะเลี้ยงอับเกสร (anther culture) การเพาะเลี้ยงอับละอองเกสรนอกจากจะไดตน

                     แฮพลอยดแลว ยังมีตนดิพลอยด หรือดับเบิลแฮพลอยด (doubled  haploid)  เกิดขึ้นเองไดดวย

                     (spontaneous chromosome  doubling)  Narayanaswamy  และ  Chandy (1971)  รายงานวา พบตนดิ
                     พลอยด 70 %          ทริพลอยด 23 %  และแฮพลอยด 7 % จากการเพาะเลี้ยงอับละอองเกสรของตน

                     Datura mentel  ที่เปนแฮพลอยด Engvild (1974)  ไดรับตนยาสูบที่เปนดิพลอยด 20 %  จากการ

                     เพาะเลี้ยงอับละอองเกสร ความถี่ของตนดิพลอยดที่ไดจะขึ้นอยูกับอายุของอับละอองเกสรที่นํามา
                     เพาะเลี้ยง ในยาสูบและตนลําโพง พบวาอัตราสวนของตนดิพลอยดและโพลีพลอยดจะเพิ่มขึ้นเมื่ออับ

                     ละอองเกสรมีอายุมากขึ้น นอกจากนี้ปจจัยของฮอรโมน (hormone) หรือสารควบคุมการเจริญเติบโต

                     (growth regulator) ซึ่งเปนองคประกอบอยางหนึ่งของอาหารที่ใชเพาะเลี้ยงอับละอองเกสรก็มีอิทธิพล

                     ตออัตราการเกิดตนดิพลอยดและโพลีพลอยด
                                 ในบางกรณีตนดิพลอยดที่ไดจากการเพาะเลี้ยงอับละอองเกสรอาจพัฒนามาจากเนื้อเยื่อ

                     ของอับละอองเกสรที่เปนดิพลอยดหรือมาจากละอองเกสรที่ไมไดลดจํานวนโครโมโซม (unreduced

                     microspore) อยางไรก็ตามตนดิพลอยดสวนใหญจะพัฒนามาจากละอองเกสร ซึ่งเราสามารถทราบได
                     โดยการวิเคราะหทางพันธุกรรมของตนดิพลอยดที่ไดจากการเพาะเลี้ยงอับละอองเกสรของลูกผสมชั่ว
   155   156   157   158   159   160   161   162   163   164   165