Page 156 -
P. 156
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
152
ระหวาง Aegilops caudata กับขาวสาลี (Triticum aestivum var. Erythrospermum) เพื่อถายทอดไซ
โตพลาสซึมของ Aegilops ใหกับขาวสาลี (cytoplasm substitution) เมื่อไดลูกผสมชั่วที่ 1 แลวผสม
กลับไปยังขาวสาลีหลาย ๆ ครั้ง ภายหลังการผสมกลับไดตนขาวสาลีที่เปนแฮพลอยดถึง 53 % ในขณะ
ที่ขาวสาลีสายพันธุที่ไมมีไซโตพลาสซึมของ Ageilops ไมพบตนแฮพลอยดเลย
14.3.5 การคัดเลือกตนแฮพลอยดภายหลังการผสมเกสรดวยละอองเกสรที่มีเครื่องหมายทาง
พันธุกรรม (marker) วิธีนี้ถูกนํามาใชครั้งแรกในขาวโพดเตตราพลอยด (2n = 4x = 40) Randolph และ
g
Fischer (1939) ไดใชขาวโพดตนแม (seed parent) ที่มีองคประกอบทางพันธุกรรมเปน A bplr y และ
1
1
ละอองเกสรที่มีพันธุกรรมแบบตาง ๆ เพื่อคัดเลือกตนแฮพลอยดที่เจริญมาจากไขที่ไมไดรับการ
ปฏิสนธิ ยีน A (anthocyanin purple) ควบคุมลักษณะลําตนมีสีมวงซึ่งลักษณะนี้ตองการยีนเดน B
1
(booster) กับยีนเดน P1 (anthocyanin) จึงจะทําใหลักษณะลําตนสีมวงแสดงออกมาได เนื่องจากตนแม
มียีน b และ p1 อยูในสภาพยีนดอยทั้งคูจึงมีลําตนสีเขียวปกติ นอกจากนี้ขาวโพดตนแมตนนี้ยังมียีน
g
ดอย r (colorless aleurone) ที่ทําใหเยื่อหุมเมล็ด (aleurone layer) ไมมีสีกับยีนดอย y (white
1
endosperm) ที่ทําใหเอนโดสเปรมของเมล็ดมีสีขาว ถานําละอองเกสรที่มีองคประกอบทางพันธุกรรม
g
g
เปน A BPLR Y มาผสมพันธุกับตนแมที่เปน A bplr y ลูกชั่วที่ 1 (F ) ที่ไดถาตนใดมีลักษณะลําตน
1
1
1
1
1
มีสีมวง เยื่อหุมเมล็ด และเอนโดสเปรมมีสีเหลือง แสดงวาลูกชั่วที่ 1 ตนนั้นเปนเตตราพลอยดซึ่งเกิด
จากการปฏิสนธิระหวางละอองเกสรกับไขของตนแม แตถาตนที่ไดมีลําตนสีเขียว เยื่อหุมเมล็ด และ
เอนโดสเปรมมีสีขาว แสดงวา เปนตนโพลีแฮพลอยด (polyhaploid, 2n = 2x = 20) ซึ่งเกิดจากไขที่
ไมไดรับการปฏิสนธิ ตนโพลีแฮพลอยดที่ไดมีจํานวน 23 ตนจากขาวโพดเตตราพลอยดทั้งหมด
17,165 ตน (1 : 750) นอกจากขาวโพดแลววิธีการนี้ยังถูกนํามาใชในการผลิตตนแฮพลอยดในพืชอีก
หลายชนิด เชน ยาสูบใชยีนดอย yg (yellow green) ที่ทําใหตนกลามีสีเขียวเหลืองเปนยีนเครื่องหมาย
(Burk, 1962) สําหรับใชในการคัดเลือกตนแฮพลอยด มะเขือเทศใชยีนดอย 3 ตัวเปนยีนเครื่องหมายใน
การคัดเลือก (Ecochard et al., 1969) อัลฟาฟาใชยีนที่ควบคุมสีของไฮโปคอตทิล (hypocotyl) ของตน
กลาเปนยีนเครื่องหมายในการคัดเลือกตนแฮพลอยดที่ไดจากการผสมพันธุระหวางตนเตตราพลอยด
และดิพลอยด (Bingham, 1971)
14.3.6 การเพาะเลี้ยงอับละอองเกสรหรือละอองเกสร (anther and microspore culture) Guha
และ Maheshwari (1964) เปนคนแรกที่คนพบวิธีการผลิตตนแฮพลอยดจากการเพาะเลี้ยงอับละออง
เกสรของตนลําโพง (Datura innoxia) อับละอองเกสรที่เพาะเลี้ยงบนอาหารสังเคราะหใน
สภาพแวดลอมที่เหมาะสมจะสรางเอมบริออยด (embryoid) หรือแคลลัส (callus) ซึ่งจะพัฒนาเปนตน
พืชแฮพลอยดตอไป อยางไรก็ตามการเพาะเลี้ยงอับละอองเกสรเพื่อผลิตตนพืชแฮพลอยดยังประสบ
กับปญหาหลายอยาง (Vasil, 1980) คือ 1) อัตราการชักนําใหเกิดตนจากการเพาะเลี้ยงอับละอองเกสร
มักจะต่ํา ทั้งนี้ขึ้นอยูกับปจจัยหลายอยาง เชน พันธุกรรม อายุของอับละอองเกสร และองคประกอบ