Page 151 -
P. 151

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                       147






                     13.6 การใชประโยชนทรานสโลเคชันในทางการเกษตร



                               การแลกเปลี่ยนชิ้นสวนระหวางโครโมโซมตางคูกันสามารถนําไปใชประโยชนในทาง
                     การเกษตรได  โดยเฉพาะอยางยิ่งในดานการปรับปรุงพันธุพืช ดังนี้

                               1.  ใชในการถายทอดชิ้นสวนโครโมโซมที่มียีนที่ตองการใหกับสายพันธุพืชที่เราตองการ
                     ปรับปรุง เชน การถายทอดลักษณะความตานทานโรคจากพืชในสกุล Agropyron,  Aegilops  และ

                     Secale ใหกับขาวสาลี ซึ่งเปนพืชตางสกุลกัน (alien species) (Knott, 1971) ซึ่งสามารถกระทําได 3 วิธี
                     คือ 1) ถาพืชพันธุให (donor parent) มีความสัมพันธอยางใกลชิดกับขาวสาลี โดยโครโมโซมคูเหมือน

                     สามารถจับคูกันได ภายหลังการผสมขามระหวางพันธุใหกับพันธุรับ (recurrent parent) ไดลูกผสมชั่ว
                     ที่ 1 แลวผสมกลับไปยังพันธุรับหลาย ๆ ครั้ง ในที่สุดจะไดสายพันธุใหมที่มีลักษณะที่ดีอื่น ๆ และมี

                     ความตานทานโรคดวย 2) ถาพันธุใหและพันธุรับไมมีความสัมพันธกัน การปรับปรุงพันธุขาวสาลี
                                                                                                       1
                     ตานทานโรคอาจกระทําไดโดยการขจัดทิ้งโครโมโซม 5 B ของขาวสาลีซึ่งเปนที่อยูของยีน Ph  ที่
                     ยับยั้งการจับคูกันของโครโมโซมพันธุรับ (ขาวสาลี) และพันธุใหซึ่งคลายคลึงกัน (homoeologous) แต
                     ไมเหมือนกัน หรือโดยการถายทอดยีนที่ควบคุมใหโครโมโซมของพืชทั้งสองมีการจับคูกันดีขึ้น (high

                     pairing gene) ไดแก ยีน ph1b กอน แลวจึงทําการผสมขามระหวางพืชทั้งสอง ไดลูกผสมชั่วที่ 1 ซึ่ง
                     โครโมโซมจากฝายพอและแมสามารถจับคูกันได ทําใหเกิดการแลกเปลี่ยนชิ้นสวนระหวาง

                     โครโมโซมของพันธุให และพันธุรับซึ่งเกิดขึ้นเองไดตามธรรมชาติ (spontaneous wheat-alien
                     chromosome translocation) 3) วิธีนี้ใชเมื่อพืชทั้งสองไมมีความสัมพันธกันเชนเดียวกับในกรณีของวิธี

                     ที่ 2 ภายหลังการผสมพันธุระหวางพันธุใหกับพันธุรับและไดลูกผสมชั่วที่ 1 แลว ใหผสมกลับไปยัง
                     พันธุรับซึ่งเปนขาวสาลีเพื่อผลิตสายพันธุขาวสาลีที่มีโครโมโซมจากพันธุใหเพิ่มขึ้นมา (alien addition

                     line)  หรือสายพันธุที่มีโครโมโซมจากพันธุใหมาทดแทน (alien substitution line) แลวจึงฉายรังสีสาย
                     พันธุดังกลาวเพื่อชักนําใหเกิดทรานสโลเคชันหรือเกิดการแลกเปลี่ยนระหวางชิ้นสวนโครโมโซมของ

                     พันธุใหและพันธุรับ  ทําใหพันธุรับไดรับชิ้นสวนโครโมโซมที่มียีนที่ตองการจากพันธุให ซึ่งอาจเปน
                     แขนขางใดขางหนึ่ง (whole arm) หรือชิ้นสวนของแขนใดแขนหนึ่ง (chromosomal segment) ของ

                     พันธุให (ดูรายละเอียดในบทที่ 21)
                               2.  ใชเปนเครื่องมือในการสรางพืชสายพันธุแท โดยการชักนําใหเกิดคอมเพลกซทรานส

                     โลชัน ดังเชนที่พบในตน evening primrose เซลลสืบพันธุที่ไดจากชุดโครโมโซมที่เปนคอมเพลกซ
                     ทรานสโลเคชันจะประกอบดวยโครโมโซมจากฝายพอหรือแมฝายใดฝายหนึ่ง เมื่อพืชดังกลาวผสม

                     ตัวเองจะไดสายพันธุแททันทีภายในหนึ่งชั่ว
                               3.  ใชในการควบคุมการระบาดของแมลงโดยการสรางสายพันธุ แมลงที่มีการแลกเปลี่ยน

                     ชิ้นสวน แบบทรานสโลเคชันภายในหองปฏิบัติการ โดยการฉายรังสีไปยังดักแดของแมลง เมื่อดักแด
                     เจริญเปนแมลงตัวเต็มวัยก็จะเปนหมันบางสวน แลวนําไปปลอยในธรรมชาติเพื่อผสมพันธุกับแมลงที่

                     มีอยู ลูกที่ไดในชั่วตอไปจะมีความเปนหมันสูง การระบาดของแมลงจะลดลง เชน ยุง แมลงวันทอง
                     แมลงหนอนใยผัก เปนตน
   146   147   148   149   150   151   152   153   154   155   156