Page 166 -
P. 166

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                       162






                                                            บทที่ 15

                                                          โพลีพลอยด

                                                          (Polyploid)


                     15.1 คํานํา


                               โพลีพลอยดคือ สิ่งมีชีวิตที่มีจํานวนโครโมโซมพื้นฐานมากกวา 2 ชุดขึ้นไป (3x, 4x, 6x,

                     …..) สวนมากพบในอาณาจักรพืช ในพืชชั้นสูงพบโพลีพลอยดประมาณ 30-35 % ในพืชใบเลี้ยงเดี่ยว
                     พบโพลีพลอยดมากที่สุดเกือบ  75 %  สวนพืชใบเลี้ยงคูพบโพลีพลอยดมากในตระกูล  Crassulaceae,
                     Malvaceae, Nymbheaceae, Polygonaceae  และ  Rosaceae  โพลีพลอยดพบมากในพืชแตพบนอยใน

                     สัตว มีสัตวเพียงไมกี่ชนิดที่พบโพลีพลอยด เชน Drosophila และ Salamander เชื่อกันวา พืชที่เปนโพ
                     ลีพลอยดมีกําเนิดมาจากการผสมขามระหวางพืชคนละชนิด  (species)  พืชโพลีพลอยดมีความทนทาน
                     ตอสภาพแวดลอมที่แตกตางกันไดดีกวาพวกดิพลอยด  เราจึงพบอยูบอย  ๆ  วา  โพลีพลอยดสามารถ

                     เจริญเติบโตไดในที่ซึ่งดิพลอยดไมสามารถมีชีวิตอยูได


                     15.2 ประเภทของโพลีพลอยด

                               Stebbins (1950)  ไดจําแนกโพลีพลอยดออกเปน  4  ประเภท  ซึ่งแตละประเภทจะมี

                     ความสัมพันธกันดังแสดงในไดอะแกรมของรูปที่ 15.1
                               1.  ออโตโพลีพลอยด (autopolyploid) คือ โพลีพลอยดที่มีชุดโครโมโซมหรือยีโนมทุกชุด

                     เหมือนกัน  (homologous)  เชน  AAAA  ดังนั้นในระหวางการแบงเซลลแบบไมโอซิส  โครโมโซมคู
                     เหมือนของทุกชุดยีโนมจะมาจับคูแนบชิดกันตลอดความยาวโครโมโซม  ออโตโพลีพลอยดที่พบใน
                     ธรรมชาติสวนใหญเปนออโตทริพลอยด (autotriploid) ออโตเตตราพลอยด (autotetraploid) ออโตเพน

                     ตะพลอยด (autopentaploid) และออโตเฮกซะพลอยด (autohexaploid) ซึ่งมีจํานวนชุดโครโมโซมเปน
                     3, 4, 5 และ 6 ชุดตอเซลลตามลําดับ
                               2.  เซกเมนทอล  อัลโลโพลีพลอยด  (segmental allopolyploid)  เปนโพลีพลอยดที่มี

                     โครโมโซมบางชุดเหมือนกันเชน  A A   แตแตกตางจากโครโมโซมชุดอื่น  (non-homologous)  หรือ
                                                    1 1
                     เหมือนกับโครโมโซมชุดอื่นเพียงบางสวน (partially homologous หรือ homoeologous) เชน A A  โพ
                                                                                                    2 2
                     ลีพลอยดชนิดนี้  (A A A A )  มีความผันแปรตั้งแตพวกที่มีความใกลเคียงกับออโตโพลีพลอยดจนถึง
                                      1 1 2 2
                     พวกที่มีความแตกตางกันมากจนเกือบเปนอัลโลโพลีพลอยด
                               3.  ยีโนม อัลโลโพลีพลอยด (genome allopolyploid) เกิดจากการผสมขามระหวางพอแมที่

                     มียีโนมแตกตางกันมาก เชน A และ B ในระหวางการแบงเซลลแบบไมโอซิส โครโมโซมไมสามารถ
                     เขาคูกันได ลูกผสมชั่วแรกจึงมักเปนหมัน แตเมื่อโครโมโซมเพิ่มขึ้นอีกเทาตัวทําใหลูกชั่วตอมาไมเปน
                     หมัน และกลายเปนยีโนม อัลโลโพลีพลอยด (AABB)  ยีโนม อัลโลโพลีพลอยดอาจมีจํานวนชุด

                     โครโมโซมที่เพิ่มขึ้นมานับตั้งแตอัลโลทริพลอยด (allotriploid, AAB)  อัลโลเตตราพลอยด
                     (allotetraploid, AABB)  อัลโลเพนตะพลอยด (allopentaploid, AABBC)  อัลโลเฮกซะพลอยด

                     (allohexaploid, AABBCC) และอื่น ๆ
   161   162   163   164   165   166   167   168   169   170   171