Page 121 -
P. 121

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                       117






                     11.2 สาเหตุของการเพิ่มขึ้นของชิ้นสวนโครโมโซม



                               การเพิ่มขึ้นของชิ้นสวนโครโมโซมเกิดขึ้นเนื่องจากสาเหตุ 3 ประการ ดังนี้
                              1.  เกิดจากการเปลี่ยนแปลงทางโครงสรางของโครโมโซม ซึ่งเกิดขึ้นเนื่องจากมีรอย

                     แตกหักบนโครโมโซม 3 แหง (B , B  และ B ) (รูปที่ 11.2) รอยแตกหัก 2 แหงแรกเกิดบนโครโมโซม
                                                    2
                                                           3
                                                 1
                     ปกติ (รูปที่ 11.2 A)  ทําใหไดโครโมโซมที่มีบางสวนขาดหายไปแตมีเซนโตรเมียร (abc. ghi)  กับ
                     ชิ้นสวนโครโมโซมที่ไมมีเซนโตรเมียร (def)  (รูปที่ 11.2 B)  รอยแตกหักแหงที่ 3 เกิดขึ้นบน
                     โครโมโซมที่เปนโครโมโซมคูเหมือน (รูปที่ 11.2 C) ตอมาชิ้นสวนโครโมโซมที่แตกหัก (def) จะ

                     สอดแทรกเขาไปตรงรอยแตกหักแหงที่ 3 แลวเชื่อมตอกับโครโมโซมคูเหมือนดังกลาวในทิศทางการ

                     เรียงตัวของยีนแบบเดียวกัน (รูปที่ 11.2 D) ทําใหไดโครโมโซมที่มีชิ้นสวน def เพิ่มขึ้นจากเดิมที่มีอยู
                     แลว เราเรียกปรากฏการณดังกลาวนี้วา การเคลื่อนยายชิ้นสวนระหวางโครโมโซม (interchromosomal

                     transposition) ซึ่งประกอบดวยทั้งการขาดหายไป และการเพิ่มขึ้นของชิ้นสวนโครโมโซม ถาสิ่งมีชีวิต

                     ที่มีชิ้นสวนโครโมโซมเพิ่มขึ้นมาผสมพันธุกับสิ่งมีชีวิตที่มีโครโมโซมปกติ ก็จะไดลูกที่เปนเฮตเทอโร
                     ไซโกตประกอบดวยโครโมโซมปกติและโครโมโซมที่มีชิ้นสวนเกินมา (รูปที่ 11.2 D)






















                     รูปที่ 11.2  ไดอะแกรมแสดงการเพิ่มขึ้นของชิ้นสวนโครโมโซม (tandem duplication) อันเนื่องมาจาก
                               การเปลี่ยนแปลงทางโครงสรางของโครโมโซม (A) มีรอยแตกหัก 2 แหง (B  และ B )
                                                                                              1
                                                                                                     2
                               เกิดขึ้นบนโครโมโซมปกติ (B) ทําใหไดโครโมโซมที่มีบางสวนขาดหายไป แตมีเซนโตร
                               เมียร (abc. ghi) กับชิ้นสวนโครโมโซมที่ไมมีเซนโตรเมียร (def) (C) ถามีรอยแตกหักแหง
                               ที่ 3 (B ) เกิดขึ้นบนโครโมโซมคูเหมือน ชิ้นสวนโครโมโซม (def) จะสามารถสอดแทรก
                                    1
                               เขาไปในโครโมโซมคูเหมือนแทงนี้ได (D) ทําใหเกิดการเพิ่มขึ้นของชิ้นสวนโครโมโซม
   116   117   118   119   120   121   122   123   124   125   126