Page 117 -
P. 117
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
113
10.7 การทําแผนที่ยีนโดยอาศัยการขาดหายไปของชิ้นสวนโครโมโซม
การทําแผนที่ยีนโดยวิธีผสมทดสอบ 3 จุด (บทที่ 4) ไมไดแสดงใหเห็นถึงระยะทางที่
แทจริงของยีน เนื่องจากการแลกเปลี่ยนชิ้นสวนระหวางโครมาติดของโครโมโซมไมไดเกิดขึ้นที่
ความถี่เดียวกันหมดเมื่อการทดลองแตกตางกัน การหาระยะทางที่แทจริงสามารถกระทําไดโดยอาศัย
การขาดหายไปของชิ้นสวนโครโมโซม วิธีการทําแผนที่ยีนแบบนี้ เรียกวา ดีลีชัน แมปปง (deletion
mapping) หรือไซโตเจนเนติค แมปปง (cytogenetic mapping) แผนที่ยีนแบบนี้จะบอกใหทราบถึง
ตําแหนงที่แนนอนของยีนใดยีนหนึ่งบนโครโมโซม ตําแหนงของยีนดังกลาวอาจอยูบนแขนใดแขน
หนึ่งของโครโมโซม หรืออยูบนสวนใดสวนหนึ่งของแขนนั้น แผนที่ยีนแบบนี้ทําไดโดยการชักนําให
เกิดการขาดหายไปของชิ้นสวนโครโมโซมในสายพันธุที่มีลักษณะเดน แลวผสมกับสายพันธุปกติซึ่งมี
ลักษณะดอย ถายีนที่ควบคุมลักษณะนั้น ๆ มีตําแหนงอยูตรงกับตําแหนงที่เกิดการขาดหายไปของ
ชิ้นสวนโครโมโซม จะพบวาลูกที่ไดบางสวนมีลักษณะดอย เนื่องจากบนอีกโครโมโซมไมมียีนเดน
อยูแลว ทําใหลักษณะดอยแสดงออกมาได เรียกวา ซูโดโดมิแนนซ (psuedodominace)
A a
พอ – แม ///
a
A
ลูก ///
a a
ลักษณะเดน ลักษณะดอย
ลักษณะดอยที่แสดงออกมาในรุนลูกเนื่องจากซูโดโดมิแนนซรวมกับการขาดหายไปของ
ชิ้นสวนโครโมโซมซึ่งสังเกตไดจากกลองจุลทรรศน จะทําใหเราทราบวายีนดอยดังกลาวมีตําแหนงอยู
ตรงสวนใดของโครโมโซม
การทําแผนที่ยีนโดยอาศัยการขาดหายไปของชิ้นสวนยีนบนโครโมโซม ใชไดผลดีที่สุด
ในการหาตําแหนงของยีนบนโครโมโซมเซลลตอมน้ําลายแมลงหวี่ โดยการหาความสัมพันธระหวาง
ยีนกับแถบคาดขวางที่ขาดหายไป เนื่องจากโครโมโซมเซลลตอมน้ําลายมีขนาดใหญ การขาดหายไป
ของชิ้นสวนโครโมโซมแมขนาดเล็กก็สามารถตรวจสอบไดดวยความแนนอน