Page 114 -
P. 114

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                       110






                     10.5 การขาดหายไปของชิ้นสวนตรงกลางโครโมโซม


                               การขาดหายไปของชิ้นสวนตรงกลางโครโมโซม (interstitial deletion) ขนาดของชิ้นสวน

                     ที่หายไปจะผันแปรไปตั้งแตหนึ่งนิวคลีโอไทดจนถึงชิ้นสวนขนาดใหญ  อยางไรก็ตามเปนการยากที่
                     จะแยกความแตกตางระหวางการเปลี่ยนแปลงของยีนใดยีนหนึ่ง  (point mutation)  กับการขาดหายไป

                     ของชิ้นสวนโครโมโซม เราสามารถแยกความแตกตางได โดยอาศัยวิธีการทางพันธุศาสตร คือ ถาเปน

                     การขาดหายไปของชิ้นสวนโครโมโซมจะไมสามารถเปลี่ยนกลับไปสูสภาพเดิมได      แตถาเปนการ
                     เปลี่ยนแปลงของยีนจะเปลี่ยนกลับไปเปนยีนเดิมได (back mutate) และยังสามารถรวมตัวกับยีนอื่นได

                     นอกจากนี้อาจแยกความแตกตางไดโดยใชเครื่องหมายโมเลกุล (molecular marker) ตาง ๆ เชน RFLP,

                     RAPD, AFLP, SSR และ  DNA probe


                               McClintock (1938) เปนคนแรกที่ศึกษาถึงการเปลี่ยนแปลงลักษณะภายนอกอัน

                     เนื่องมาจากการขาดหายไปของชิ้นสวนตรงกลางโครโมโซมในขาวโพด โดยการฉายรังสีเอกซไปที่
                     ละอองเกสรซึ่งมีจํานวนโครโมโซม 1 ชุด และมียีนเดน Bm  ที่ควบคุมลักษณะการมีเสนกลางใบและ
                                                                      1
                     กาบใบสีขาว สวนยีนดอย bm ควบคุมลักษณะการมีเสนกลางใบและกาบใบสีน้ําตาล ยีน Bm  อยูบน
                                                                                                   1
                                              1
                     แขนสั้นของโครโมโซมคูที่ 5 การขาดหายไปของชิ้นสวนโครโมโซมที่มียีนเดน Bm   จะทําให
                                                                                                1
                     ขาวโพดมีเสนกลางใบเปนสีน้ําตาลเชนเดียวกับเมื่อมียีนดอย bm  อยู เมื่อนําละอองเกสรที่มียีน Bm
                                                                                                         1
                                                                            1
                     และผานการฉายรังสีดังกลาวมาเคาะลงบนเสนไหมของตนขาวโพดที่มียีนดอย bm  อยูในสภาพโฮโม
                                                                                          1
                     ไซกัส (bm  bm ) ผลปรากฏวาภายหลังการผสมพันธุไดตนขาวโพดในชั่วลูก 2 ตนที่มีเสนกลางใบดาง
                              1
                                  1
                     ขาวสลับน้ําตาล (Bm  bm  และ bm -) จากลูกทั้งหมด 446 ตนที่มีเสนกลางใบสีขาว (Bm  bm ) และ
                                                   1
                                       1
                                                                                                    1
                                                                                                1
                                           1
                     เมื่อนําตนขาวโพดทั้งสองนี้มาตรวจดูโครโมโซมพบวาโครโมโซมเสนที่ 5 มีการขาดหายไปของ
                     ชิ้นสวนโครโมโซม และยังพบโครโมโซมวงแหวนเล็ก ๆ อีกอันหนึ่ง (รูปที่ 10.4 A) เขาจึงสันนิษฐาน
                     วาโครโมโซมที่มีการขาดหายไปของชิ้นสวนกับโครโมโซมวงแหวนเปนผลเนื่องมาจากรังสีเอกซทํา

                     ใหเกิดรอยแตกหักบนโครโมโซม 2 แหง รอยแตกหักแหงแรกเกิดขึ้นที่ตรงเซนโตรเมียร รอยแตกหัก
                     อีกแหงหนึ่งเกิดขึ้นที่แขนสั้นของโครโมโซมคูที่ 5 หางจากเซนโตรเมียร 1/10 (ตนที่ 1) และ 1/7 (ตนที่

                     2) ของความยาวโครโมโซมทั้งเสน ซึ่งโครโมโซมวงแหวนก็คือ สวนที่แตกหักหลุดออกมาของ

                     โครโมโซมเสนที่ 5 ที่มียีน Bm  ติดมาดวยนั้นเอง ในระยะพะคีทีนของการแบงเซลลแบบไมโอซิส
                                               1
                     โครโมโซมวงแหวนจะมาจับคูกับโครโมโซมที่มีชิ้นสวนขาดหายไป (รูปที่ 10.4 B) นอกจากนี้ยังพบ

                     อีกวา โครโมโซมวงแหวนนี้ไดหายไปในเนื้อเยื่อเซลลรางกายบางสวน ทําใหเนื้อเยื่อสวนนั้นมีสี

                     น้ําตาล (bm -) สวนเนื้อเยื่อที่เซลลยังมีโครโมโซมวงแหวนอยูก็จะมีสีขาว (Bm  bm ) จึงทําใหเสน
                                                                                             1
                                                                                         1
                               1
                     กลางใบใบมีลักษณะดางขาวสลับน้ําตาล ดังนั้นจึงสรุปไดวายีนเดน Bm   นั้นอยูบนโครโมโซมวง
                                                                                   1
                     แหวน
   109   110   111   112   113   114   115   116   117   118   119