Page 116 -
P. 116
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
112
วงแหวนมีขนาดเพิ่มขึ้นเปนสองเทา โครโมโซมวงแหวนใหมนี้มีเซนโตรเมียร 2 อัน (dicentric
chromosome) ในระยะอะนาเฟสเซนโตรเมียรทั้งสองจะถูกดึงใหแยกออกจากกันไปคนละขั้วของ
เซลล ทําใหโครโมโซมวงแหวนมีรูปรางคลายสะพานคู (double bridge) แลวในที่สุดจะแตกหักจาก
กัน ซึ่งเปนการเสร็จสิ้นหนึ่งรอบของวงจรการแตกหัก เชื่อมตอและสรางสะพาน (breakage-fusion-
bridge cycle) การแตกหักของโครโมโซมวงแหวนอาจเกิดขึ้นที่จุดใด ๆ ก็ไดบนวงแหวน รูปที่ 10.5
แสดงจุดแตกหัก 3 แหง (A, B, C) ภายหลังการแตกหักจะเกิดการเชื่อมตอสวนปลายที่แตกหัก ทําให
ไดโครโมโซมวงแหวนใหมที่มีขนาดแตกตางกัน
รูปที่ 10.5 วงจรการแตกหัก เชื่อมตอ และสรางสะพาน (breakage-fusion-brige cycle) ในขาวโพด แถวบน
รูปซายแสดงโครโมโซมวงแหวนในระยะพักตัว กลาง โครโมโซมวงแหวนมีการสราง
จําลองแบบตัวเองและมีการแลกเปลี่ยนชิ้นสวนระหวางโครมาติดทั้งสอง ขวา โครโมโซม
วงแหวนมีขนาดเพิ่มขึ้นเปนสองเทาและมีเซนโตรเมียร 2 อันเกิดขึ้นในระยะอะนาเฟส
พรอมกับมีรอยแตกหักที่โครโมโซม 3 แหง (A, B, C) แถวลาง (2 แถว) เปนผลที่เกิดขึ้น
ในระยะปลายอะนาเฟสและเทโลเฟส เนื่องจากมีรอยแตกหักเกิดขึ้นบนโครโมโซม 3 แหง