Page 112 -
P. 112

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                       108






                            แมลงหวี่เปนสิ่งมีชีวิตที่นิยมใชในการทดลองเพื่อศึกษาถึงผลของรังสีเอกซที่มีตอความ

                     ผิดปกติของโครโมโซม โดยใชโครโมโซมเซลลตอมน้ําลายที่มีขนาดใหญ ทําใหงายตอการตรวจหา

                     ความผิดปกติที่เกิดขึ้นแมจะเปนบริเวณเล็ก ๆ Muller (1972) เปนคนแรกที่รายงานวารังสีเอกซชักนํา
                     ใหเกิดการแลกเปลี่ยนชิ้นสวนระหวางโครโมโซมตางคูกัน และชักนําใหเกิดความผิดปกติอื่น ๆ ใน
                     แมลงหวี่ ตอมาไดมีผูศึกษาถึงผลของรังสีและสารเคมีที่ชักนําใหเกิดความผิดปกติของโครโมโซมใน

                     พืชและสัตวอื่น ๆ สวนในพืชที่นิยมใชศึกษากันมากคือ ถั่วปากอา (Vicia faba)  และ Tradescantia
                     เนื่องจากพืชทั้งสองมีโครโมโซมขนาดใหญและมีจํานวนนอย


                     10.4 การขาดหายไปของชิ้นสวนตรงปลายโครโมโซม


                               การขาดหายไปของชิ้นสวนโครโมโซมตรงกับคําศัพทในภาษาอังกฤษวา เดฟเชียนซี

                     (deficiency) และดีลีชัน (deletion) แตความจริงแลวคําศัพททั้งสองมีความหมายแตกตางกัน กลาวคือ
                     เดฟเชียนซี หมายถึง การขาดหายไปของชิ้นสวนตรงปลายโครโมโซม (terminal deficiency) เนื่องจาก
                     มีรอยแตกหักเกิดขึ้นหนึ่งแหงตรงสวนปลายโครโมโซม (รูปที่ 10.2 A) ในทางตรงกันขามดีลีชัน คือ

                     การขาดหายไปของชิ้นสวนในบริเวณตอนกลางโครโมโซม (interstitial deletion) ซึ่งเกิดจากการมีรอย

                     แตกหักสองแหงบนโครโมโซม (รูปที่ 10.2 B) อยางไรก็ตามโดยทั่วไปนิยมใชคําวา ดีลีชันแทนการ
                     เปลี่ยนแปลงทางโครงสรางของโครโมโซมทั้งสองแบบ การเปลี่ยนแปลงทั้งสองแบบทําใหได

                     ชิ้นสวนโครโมโซมทั้งที่มีและไมมีเซนโตรเมียร ชิ้นสวนโครโมโซมที่มีเซนโตรเมียรจะคงตัวอยูได
                     ในการแบงเซลล แตพวกที่ไมมีเซนโตรเมียรจะสูญหายไปในระหวางการแบงเซลล ความผิดปกติของ

                     โครโมโซมที่ทําใหเกิดการสูญเสียชิ้นสวนโครโมโซมขนาดใหญ จะมีผลทําใหเซลลตายหรือในที่สุด
                     จะยับยั้งการสืบพันธุแบบมีเพศ


















                     รูปที่ 10.2  การขาดหายไปของชิ้นสวนโครโมโซม (A) การขาดหายไปของชิ้นสวนตรงปลายโครโมโซม
                               (deficiency) เกิดจากการมีรอยแตกหักหนึ่งแหง (B) การขาดหายไปของชิ้นสวนบริเวณ

                               ตอนกลางโครโมโซม (deletion) เกิดจากการมีรอยแตกหักสองแหง
   107   108   109   110   111   112   113   114   115   116   117