Page 107 -
P. 107

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                       103










                                                euchromatin                           heterochromatin






                              centromere

                     รูปที่ 9.12  ไดอะแกรมแสดงโครโมโซม-บี (B chromosome) ของขาวโพดในระยะพะคีทีน


                          9.11.1  โครงสรางและองคประกอบทางพันธุกรรมของโครโมโซม-บี

                                 โครโมโซม-บีมีสวนที่ยอมติดสีเขมเปนบริเวณกวาง ทั้งนี้อาจมีสวนเกี่ยวของกับการที่

                     โครโมโซม-บีมียีนจํานวนมากที่ไมทําหนาที่ ดังนั้นโครโมโซม-บีจึงเปนโครโมโซมที่ไมจําเปน
                     เนื่องจากไมมีองคประกอบทางพันธุกรรม โครโมโซม-บีมีขนาดสั้นกวาโครโมโซม-เอ โดยทั่วไปมี

                     รูปรางเปนแบบที่มีเซนโตรเมียรอยูตรงปลายหรือคอนไปทางปลาย เชน ในขาวไรยชุดของ

                     โครโมโซม-เอ ประกอบดวยโครโมโซมที่มีเซนโตรเมียรอยูตรงกลาง หรือคอนไปตอนกลาง ดังนั้น
                     ในขาวไรยเราจึงสามารถแยกโครโมโซม-บีออกจากโครโมโซม-เอไดงายโดยอาศัยความแตกตางของ

                     รูปราง (รูปที่ 9.13)  นอกจากนี้โครโมโซม-บี ยังมีรูปรางเปลี่ยนแปลงไปไดอีกหลายแบบ

                     (polymorphism) เชนใน Aster ageratoides พบโครโมโซม-บีที่มีรูปรางแตกตางไปจากโครโมโซม
                     ปกติถึง 24 แบบ


















                     รูปที่ 9.13  เซลลปลายรากของขาวไรยซึ่งประกอบดวยโครโมโซม-เอ (A chromosome) 14 แทง และ

                               โครโมโซม-บีอีก 5 แทง (ลูกศรชี้)
   102   103   104   105   106   107   108   109   110   111   112