Page 105 -
P. 105

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                       101






                     มิคหนึ่ง ๆ จะ ประกอบดวยโครโมโซมปกติ 20 คู กับโครโมโซมที่มีเซนโตรเมียรอยูตรงปลาย 2 แทง

                     ซึ่งเปนโครโมโซมคูเหมือนกันโดยเขียนเปนสัญลักษณไดดังนี้ 20" + 2t


                               การขาดหายไปของแขนขางหนึ่งของโครโมโซมที่มีเซนโตรเมียรอยูตรงปลายทําใหทราบ

                     ถึงตําแหนงของยีนวาอยูบนแขนนั้นและสามารถหาระยะทางวายีนนั้นอยูหางจากเซนโตรเมียรเทาใด

                     นอกจากนี้ยังมีการใชโครโมโซมที่มีเซนโตรเมียรอยูตรงปลายในการหาตําแหนงของยีนในฝายและ
                     มะเขือเทศอีกดวย



                               โครโมโซมที่มีเซนโตรเมียรอยูตรงปลายยังมีรายงานพบในสัตว เชน หนู วัว ตั๊กแตน และ
                     ปลา แตโครโมโซมดังกลาวที่พบบางครั้งอาจรวมเอาโครโมโซมปกติที่มีเซนโตรเมียรอยูคอนไปทาง

                     ปลาย (acrocentric chromosome)  เขาไปดวย เนื่องจากโครโมโซมที่มีเซนโตรเมียรอยูคอนไปทาง

                     ปลายจะมีแขนขางหนึ่งสั้นมาก จนทําใหมองดูคลายกับวามีเซนโตรเมียรอยูตรงปลายโครโมโซม


                     9.10  โครโมโซมที่มีแขนทั้งสองขางเหมือนกัน


                               โครโมโซมที่มีแขนทั้งสองขางเหมือนกัน (isochromosome) จะมีเซนโตรเมียรอยูตรงกลาง

                     พอดี และมักจะมีลําดับของยีนที่ซ้ํากันแบบสวนทางกัน (ABC.CBA)  มีกําเนิดมาจากการแบงตัวที่

                     ผิดปกติของเซนโตรเมียร และการสรางจําลองแบบโครโมโซมที่มีเซนโตรเมียรอยูตรงปลายดังที่ได
                     อธิบายไวในขอ 9.9 ในระหวางการแบงเซลลแบบไมโอซิส โครโมโซมที่มีแขนทั้งสองขางเหมือนกัน

                     จะมาจับคูกันในแบบตาง ๆ 3 แบบ คือ 1) การจับคูกันภายในโครโมโซม (internal pairing) โดยแขนที่

                     เหมือนกันทั้งสองขางของโครโมโซมจะมาจับคูซึ่งกันและกันในระยะพะคีทีน เรียกวา ออโตไซแนบ
                     ซิส (autosynapsis)  (รูปที่ 9.11 A)  และภายหลังจากที่ไคแอสมาเคลื่อนตัวออกไปทางดานปลาย

                     โครโมโซมในระยะไดอะไคเนซิส จะทําใหโครโมโซมมีลักษณะเปนวงแหวนเรียกวา ยูนิวาเลนตวง

                     แหวน (ring univalent) 2) การจับคูระหวางโครโมโซมพอแม (fraternal pairing) โดยแขนขางหนึ่ง
                     หรือทั้งสองขางของโครโมโซมที่มีแขนทั้งสองขางเหมือนกันจะจับคูกับแขนที่เคยเปนคูกัน

                     (homologous) ของโครโมโซมอีกแทงหนึ่ง (รูปที่ 9.11 B) การจับคูแบบนี้เกิดขึ้นในเซลลที่เปนเซคัน

                     ดารี ไตรโซมิค (secondary trisomic) ซึ่งมีโครโมโซมที่เกินมา 1 แทงเปนโครโมโซมที่มีแขนทั้งสอง

                     ขางเหมือนกัน (2n + i) และ 3) การจับคูปกติ (normal pairing) ในการจับคูแบบนี้โครโมโซมที่มีแขน
                     ทั้งสองขางเหมือนกันจะจับคูกับโครโมโซมอีกแทงหนึ่งที่เหมือนกัน (รูปที่ 9.11 C)
   100   101   102   103   104   105   106   107   108   109   110