Page 111 -
P. 111
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
107
จะแลกเปลี่ยนชิ้นสวนกัน การแลกเปลี่ยนชิ้นสวนจริง ๆ ซึ่งเปนเหตุการณที่สาม (รูปที่ 10.1 C และ D)
อาจเกิดขึ้นตามมาหรือไมเกิดก็ได ถาไมมีการแลกเปลี่ยนเกิดขึ้นโครโมโซมจะมีการซอมแซมรอยแผล
ถาเกิดขึ้นการแลกเปลี่ยนอาจเปนแบบสมบูรณโดยการแลกเปลี่ยนเกิดขึ้นทั้งสองดานของรอยแผล
หรือแบบไมสมบูรณโดยการแลกเปลี่ยนเกิดขึ้นที่ดานเดียวของรอยแผล กลไกการแลกเปลี่ยนชิ้นสวน
ระหวางโครโมโซมคลายคลึงกับการเกิดครอสซิงโอเวอร
10.3 ความผิดปกติของโครโมโซมและโครมาติดที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติและที่เกิดขึ้นโดยการชักนํา
ในธรรมชาติความผิดปกติทั้งหมดที่เกิดขึ้นกับโครโมโซมหรือโครมาติด เชื่อวา เปนผลมา
จากรังสี แตบางครั้งมีหลักฐานวาเกิดจากการเขาทําลายของไวรัส
การชักนําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงในโครงสรางโครโมโซมอาจทําใหเกิดขึ้นไดโดยการใช
สิ่งกอกลายพันธุ เชน รังสี สารเคมี การใชการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิ การใชไวรัสและไมโค
พลาสมา (mycoplasma) และการใชแสงเลเซอร (laser microbeam) โดย Berns et al. (1979) รายงานวา
แสงเลเซอรสามารถชักนําใหเกิดการขาดหายไปของชิ้นสวนโครโมโซม
การฉายรังสีไปยังเซลลที่อยูในระยะการแบงเซลลตาง ๆ จะเปนตัวกําหนดวาการ
เปลี่ยนแปลงนั้นเกิดขึ้นที่โครโมโซมหรือโครมาติด ถาฉายรังสีไปยังเซลลภายหลังชวงเอส (s period)
ของระยะอินเตอรเฟส รอยแผลจะเกิดขึ้นกับโครมาติดใดโครมาติดหนึ่ง แตถาฉายไปกอนชวงเอสรอย
แผลจะเกิดขึ้นกับทั้งสองโครมาติด เนื่องจากรอยแผลมีการสรางจําลองแบบตัวเองพรอมกับการสราง
โครมาติดใหม
รูปที่ 10.1 ไดอะแกรมแสดงสมมุติฐานการแลกเปลี่ยนชิ้นสวนระหวางโครโมโซม (exchange
hypothesis) (A) เหตุการณที่ 1 : การเกิดรอยแผล (B) เหตุการณที่ 2 : จุดเริ่มตนการ
แลกเปลี่ยน (C, D) เหตุการณที่ 3 : กระบวนการแลกเปลี่ยนที่เกิดขึ้นจริง ๆ