Page 126 -
P. 126

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                       122





































                     รูปที่ 11.6  ไดอะแกรมแสดงการจับคูกันของโครโมโซมปกติกับโครโมโซมที่มีชิ้นสวนเพิ่มขึ้นมา
                               แบบกลับทิศทาง (reverse tandem duplication) ของโครโมโซมคูที่ 9 และการแลกเปลี่ยน
                               ชิ้นสวนระหวางโครโมโซมคูเหมือนทั้งสองที่ทําใหเกิดวงจรการแตกหัก  เชื่อมตอ  และ

                               สรางสะพาน (breakage – fusion-bridge cycle)

                     11.6  การตรวจสอบการเพิ่มขึ้นของชิ้นสวนโครโมโซม


                               การเพิ่มขึ้นของชิ้นสวนโครโมโซมสามารถตรวจสอบไดจากการแบงเซลลแบบไมโตซิส
                     ถาชิ้นสวนโครโมโซมที่เพิ่มขึ้นมามีขนาดใหญ โดยสังเกตดูไดจากจํานวนแถบคาดขวางที่เพิ่มขึ้นมา

                     นอกจากนี้อาจตรวจสอบไดจากการแบงเซลลแบบไมโอซิสของสิ่งมีชีวิตที่มีชิ้นสวนโครโมโซมเพิ่ม
                     ขึ้นมาและอยูในสภาพที่เปนเฮตเทอโรไซกัส (duplication  heterozygote)  โดยที่ระยะพะคีทีน

                     โครโมโซมคูเหมือนที่ประกอบดวยโครโมโซมที่มีชิ้นสวนเพิ่มขึ้นมากับโครโมโซมปกติจะมาจับคูกัน
                     แตโครโมโซมที่มีชิ้นสวนเพิ่มขึ้นมาจะยาวกวาโครโมโซมปกติ ดังนั้นเพื่อใหการจับคูดําเนินไปอยาง
                     สมบูรณ โครโมโซมที่มีชิ้นสวนเพิ่มขึ้นมาจะตองสรางหวง (loop  หรือ buckle)  ขึ้นมา ซึ่งสามารถ

                     มองเห็นหวงนี้ไดจากกลองจุลทรรศนธรรมดา โดยตําแหนงและขนาดของหวงจะแตกตางกันไป
                     ขึ้นอยูกับตําแหนง และขนาดของชิ้นสวนที่เพิ่มขึ้นมาเชนเดียวกับกรณีการขาดหายไปของชิ้นสวนตรง
                     กลางโครโมโซม (deletion)
   121   122   123   124   125   126   127   128   129   130   131