Page 131 -
P. 131

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                       127






                               หลังจากที่โครโมโซมมาจับคูกันแลวจะเกิดการแลกเปลี่ยนชิ้นสวนระหวางโครมาติด

                     (crossing over) ถาการแลกเปลี่ยนเกิดขึ้นในบริเวณหวงของคูโครโมโซมจะทําใหไดเซลลสืบพันธุที่มี

                     โครมาติดซึ่งมีการขาดหายไปหรือเพิ่มขึ้นมาของชิ้นสวน ตัวอยางเชน การแลกเปลี่ยนชิ้นสวนระหวาง
                     โครมาติดที่บริเวณอินเวอรชัน ลูปของโครโมโซมคูที่ 3 ของมนุษย (รูปที่ 12.3 A) โดยสมมุติวาจุด
                     แลกเปลี่ยนเกิดขึ้นใกล ๆ กับเซนโตรเมียรตรงระหวางยีน D  และ E (รูปที่ 12.3 B)  ภายหลังการ

                     แลกเปลี่ยนในระยะอะนาเฟสจะไดโครโมโซม 4 เสน ที่มีลําดับของยีนแตกตางกันไป (รูปที่ 12.3 C)

                     โครโมโซม 2 ใน 4 เสนนี้มีการเพิ่มขึ้นและขาดหายไปของโครโมโซม (ในกรอบสี่เหลี่ยม) โดย
                     โครโมโซมเสนหนึ่งมีชิ้นสวนที่เพิ่มขึ้นมาขนาดใหญ (ghi) แตชิ้นสวนที่ขาดหายไปมีขนาดเล็ก (a)
                     โครโมโซมนี้มีลําดับการเรียงตัวของยีนเปน ihgbcd .  EFGHI  ในขณะที่โครโมโซมอีกเสนหนึ่งมี

                     ชิ้นสวนที่เพิ่มขึ้นมาขนาดเล็ก (a) แตชิ้นสวนที่ขาดหายไปขนาดใหญ (ghi) เซลลที่มีการขาดหายไป

                     ของชิ้นสวนโครโมโซมขนาดเล็กจะมีโอกาสอยูรอดไดมากกวาการขาดหายไปของชิ้นสวน
                     โครโมโซมขนาดใหญ และการขาดหายไปของชิ้นสวนโครโมโซมมีอันตรายมากกวาการเพิ่มขึ้นของ
                     ชิ้นสวนโครโมโซม การขาดหายไปหรือเพิ่มขึ้นมาของชิ้นสวนโครโมโซมสามารถบงบอกไดโดย

                     อาศัยรูปแบบของแถบติดสีของแครีโอไทป ในกรณีนี้ชิ้นสวนที่ขาดหายไปเริ่มจากตรงปลายแขนสั้น

                     (pter) จนถึงแถบติดสี p 25 และชิ้นสวนที่เพิ่มขึ้นมาเริ่มจากตรงปลายแขนยาว (qter) จนถึงแถบติดสี
                     q 21



















                     รูปที่ 12.3  เพอริเซนตริค อินเวอรชัน (pericentric inversion) ของโครโมโซมคูที่ 3 ของมนุษย (p 25
                               q 21)  (A) โครโมโซมคูเหมือนประกอบดวยโครโมโซมที่มีการตอกลับทิศทางของชิ้น

                               สวนโครโมโซมอยูในสภาพเฮตเทอโรไซกัส (B) การจับคูกันของโครโมโซมดังกลาวทั้ง

                               สองในระหวางการแบงเซลลแบบไมโอซิส และมีการแลกเปลี่ยนชิ้นสวนโครมาติดเกิดขึ้น
                               ในบริเวณอินเวอรชัน ลูปใกล ๆ กับเซนโตรเมียรตรงระหวางยีน D และ E (C) ภายหลัง
                               การแลกเปลี่ยนโครโมโซมทั้งสี่จะมีการจัดเรียงตัวของยีนในรูปแบบตาง ๆ
   126   127   128   129   130   131   132   133   134   135   136