Page 130 -
P. 130

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                       126






                     12.2 เพอริเซนตริค อินเวอรชัน



                               โครโมโซมที่เปนเพอริเซนตริค อินเวอรชันนั้นจะมีเซนโตรเมียรรวมอยูในชิ้นสวนที่ตอ
                     กลับทิศทาง จึงมีผลทําใหรูปรางโครโมโซมเปลี่ยนแปลงไปเนื่องจากมีการเปลี่ยนตําแหนงของเซน

                     โตรเมียร และมีการเปลี่ยนแปลงอัตราสวนความยาวแขนโครโมโซม ความผิดปกติของโครโมโซม

                     แบบนี้สามารถตรวจสอบไดจากแครีโอไทปของสิ่งมีชีวิตนั้น ๆ ในการแบงเซลลแบไมโอซิสถาเซลล

                     อยูในสภาพเฮตเทอโรไซกัส โครโมโซมคูเหมือนจะมาจับคูกันเปนรูปแบบตาง ๆ กลาวคือ ถาชิ้นสวน
                     ที่ตอกลับทิศทางมีขนาดเล็ก ตรงบริเวณนี้จะไมมีการจับคูกันของโครโมโซม (รูปที่ 12.2 A)  ถา

                     ชิ้นสวนที่ตอกลับทิศทางมีขนาดใหญในระหวางการจับคูจะเกิดการบิดตัวของเสนโครโมโซม เพื่อให

                     ยีนมาเขาคูกันแบบยีนตอยีน ทําใหมองเห็นเปนหวงในคูโครโมโซม เรียกวา อินเวอรชัน ลูป
                     (inversion loop) (รูปที่ 12.2 B) ถาชิ้นสวนที่ตอกลับทิศทางมีความยาวเกือบตลอดเสนโครโมโซม การ

                     จับคูจะเกิดขึ้นเฉพาะบริเวณที่ตอกลับทิศทาง สวนบริเวณปกติไมมีการจับคูกันของโครโมโซม (รูป

                     ที่ 12.2 C)























                     รูปที่ 12.2  การจับคูกันระหวางโครโมโซมปกติกับโครโมโซมที่มีการตอกลับทิศทางของชิ้นสวนใน
                               โครโมโซม (inversion) ในระหวางการแบงเซลลแบบไมโอซิส (A) การจับคูกันเมื่อชิ้น

                               สวนที่ตอกลับทิศทางมีขนาดเล็ก (B) การจับคูกันเมื่อชิ้นสวนที่ตอกลับทิศทางมีขนาด

                               ใหญ ทําใหเกิดเปนหวงในคูโครโมโซม (inversion loop) (C) ถาชิ้นสวนที่ตอกลับทิศทาง
                               มีความยาวเกือบตลอดเสนโครโมโซม การจับคูจะเกิดขึ้นเฉพาะบริเวณที่ตอกลับทิศทาง

                               สวนบริเวณปกติไมมีการจับคูกันของโครโมโซม
   125   126   127   128   129   130   131   132   133   134   135