Page 135 -
P. 135

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                       131






                               สิ่งมีชีวิตหลายชนิดมีกลไกที่จะคัดเลือกเซลลที่มีโครโมโซมปกติ  ใหเจริญตอไปเปนเซลล

                     สืบพันธุที่สมบูรณ เชน ในแมลงหวี่เซลลที่มีโครโมโซมปกติเทานั้นที่เจริญเปนไข ที่เหลือจะเจริญเปน

                     โพลาร บอดีส (polar bodies)


                     12.4 การตอกลับทิศทางของชิ้นสวนในโครโมโซมมีผลยับยั้งการแลกเปลี่ยนชิ้นสวนโครโมโซม


                               การตอกลับทิศทางของชิ้นสวนในโครโมโซมมีผลทําใหอัตราการแลกเปลี่ยนชิ้นสวน

                     ระหวางโครมาติดของโครโมโซมคูเหมือนลดลง (crossover suppressor)  ที่เปนเชนนี้มีสาเหตุ

                     เนื่องมาจาก
                               1.  การตอกลับทิศทางของชิ้นสวนโครโมโซมทําใหการจับคูกันระหวางโครโมโซมที่มี

                     ความผิดปกติดังกลาวกับโครโมโซมปกติไมสมบูรณ เชน ในกรณีชิ้นสวนที่ตอกลับทิศทางมีขนาดสั้น

                     โครโมโซมบริเวณนั้นจะไมมีการจับคูกัน (รูปที่ 12.2 A)  ในทํานองเดียวกันถาชิ้นสวนที่ตอกลับ
                     ทิศทางมีขนาดใหญและมีการสรางอินเวอรชัน ลูป ในระหวางการจับคูกันของโครโมโซม อัตราการ

                     แลกเปลี่ยนชิ้นสวนระหวางโครมาติดตรงบริเวณที่มีการตอกลับทิศทางหรือบริเวณใกลเคียงจะลดลง

                     เนื่องจากการจับคูกันของโครโมโซมไมสมบูรณ

                               2.  การแลกเปลี่ยนชิ้นสวนโครโมโซมในบริเวณอินเวอรชัน ลูป มักจะทําใหไดเซลล
                     สืบพันธุที่ไมมีชีวิตและหายไป จึงมองดูคลายกับวาไมมีการแลกเปลี่ยนชิ้นสวนโครโมโซมเกิดขึ้น

                     อัตราการแลกเปลี่ยนชิ้นสวนโครโมโซมจะเปนสัดสวนผกผันกับความยาวของชิ้นสวนที่มีการตอกลับ

                     ทิศทาง ในแมลงหวี่ถึงแมวาจะมีการแลกเปลี่ยนชิ้นสวนเกิดขึ้นหนึ่งแหงระหวางโครมาติด 2 เสน แต
                     เซลลสืบพันธุทั้ง 4 ที่ไดไมสามารถมีชีวิตรอดอยูไดเลย

                               3.  ถาชิ้นสวนที่ตอกลับทิศทางมีขนาดยาวและมีการแลกเปลี่ยนชิ้นสวนเกิดขึ้น 2 แหง

                     ระหวางโครมาติด 2 เสน การแลกเปลี่ยนชิ้นสวนที่ตําแหนงที่ 2 จะยับยั้งผลการแลกเปลี่ยนชิ้นสวนใน

                     ตําแหนงแรก ทําใหไดเซลลสืบพันธุปกติที่มีชีวิตรอดอยูได ดวยเหตุนี้การตอกลับทิศทางของชิ้นสวน
                     ในโครโมโซมจึงไมมีผลกระทบตอการแสดงออกของลักษณะภายนอก (phenotype) แตอยางใด
   130   131   132   133   134   135   136   137   138   139   140