Page 138 -
P. 138

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                       134






                                                            บทที่ 13

                                       การแลกเปลี่ยนชิ้นสวนระหวางโครโมโซมที่มิไดเปนคูกัน

                                                  (Chromosome Translocation)



                     13.1 คํานํา


                               การแลกเปลี่ยนชิ้นสวนระหวางโครโมโซมที่มิไดเปนคูกัน (translocation) สามารถจําแนก

                     ออกไดเปน 4 ชนิด ขึ้นอยูกับจํานวนรอยแตกหักบนโครโมโซม ดังนี้

                               1.  ซิมเพิล ทรานสโลเคชัน (simple translocation) เกิดจากการมีรอยแตกหักหนึ่งแหงบน
                     แขนขางหนึ่งของโครโมโซม แลวชิ้นสวนที่แตกหักซึ่งไมมีเซนโตรเมียรเคลื่อนยายไปตอกับ

                     โครโมโซมอีกแทงหนึ่งที่ไมไดเปนคูกัน (รูปที่ 13.1 และ 13.2)

























                     รูปที่ 13.1  ภาพวาดแสดงซิมเพิล ทรานสโลเคลัน (simple translocation) โครโมโซม 2 แทงบนเปน
                               โครโมโซมที่มิไดเปนคูกัน โดยมีรอยแตกหักหนึ่งแหง (Br ) บนโครโมโซมแทงบนสุด
                                                                                1
                               โครโมโซม 2 แทงลางคือโครโมโซมที่มิไดเปนคูกันภายหลังการเกิดทรานสโลเคชัน


                               2.  รีซิโปรคอล ทรานสโลเคชัน (reciprocal translocation)  เกิดจากการมีรอยแตกหัก 2

                     แหงที่ปลายแขนของโครโมโซม 2 แทงที่มิไดเปนโครโมโซมคูเหมือน ตอมาสวนปลายที่แตกหักทั้ง

                     สองจะมาตอสลับกัน (รูปที่ 13.3)
   133   134   135   136   137   138   139   140   141   142   143