Page 87 -
P. 87

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                  81
                                                                                   ล าต้น


            ปลายฤดูได้ชัดเจน  ซึ่งเนื้อไม้ปลายฤดูจะมีความแน่นมากกว่าและแตกต่างจากเนื้อไม้ต้นฤดูของปีถัดไป

            ท าให้สามารถแยกออกเป็นวงปีชัดเจน (ภาพที่  4.16)

                    การเกิดวงปี มีข้อสังเกตที่ส าคัญคือ

                     ถ้าการเจริญเติบโตเป็นปกติตลอดทั้งปี  ลักษณะของวงเติบโตก็จะสม่ าเสมอ และเรียกว่า
                        วงปี (annual ring) หรือ annual layer

                     ถ้าการเจริญเติบโตไม่เป็นปกติ เช่น ในปีที่สภาพแวดล้อมไม่เหมาะสมระยะหนึ่ง ท าให้มีการ

                        เติบโตเร็วหรือช้ากว่าปกติ  เมื่อสภาพแวดล้อมกลับเป็นปกติก็จะมีการเจริญเติบโตเป็นปกติ

                        เช่นเดิม  ลักษณะดังกล่าวอาจท าให้เห็นวงปีเป็น 2  วง ใน 1  ปี เรียกว่า วงปลอม  (false
                        ring) และการเกิดลักษณะวงเติบโตไม่ต่อเนื่องกันครบเป็นวงเนื่องจากแคมเบียมบางส่วนไม่

                        มีการแบ่งตัว  เรียกวงเติบโตนี้ว่า วงชะงัก (discontinuous ring)



                  แก่น และ กระพี้ (heart wood and sap wood)

                    เนื้อไม้ที่มีอายุหลายปี เมื่อตัดเนื้อไม้ตามขวางจะเห็นเนื้อไม้แยกออกได้เป็น 2  ส่วน คือ (ภาพที่

            4.17)

                    1  แก่น (heart  wood)  เป็นส่วนที่อยู่ด้านในของล าต้น มีสีเข้ม โดยเป็นเนื้อไม้ที่เกิดขึ้นนาน

            แล้ว และหยุดท าหน้าที่ล าเลียงน้ าและเกลือแร่ เนื่องจากมีการสะสมสารประกอบภายในเซลล์ท าให้กั้น
            ทางเดินของน้ าและเกลือแร่  เมื่อมีอายุมากมีการสะสมอาหารและสารอินทรีย์ต่างๆ อยู่เป็นจ านวนมาก

            ซึ่งได้แก่ น้ ามัน เรซิน แทนนิน ยาง (gum) และสารพวก phenolic compounds  สารเหล่านี้อาจจะยังอยู่
            ในผนังเซลล์และใน cell lumen  ท าให้แก่นมีสีเข้มจัดและมีความแข็งแกร่งมาก จึงทนทานต่อแมลงและ

            ศัตรูต่างๆ ได้ดี  สีที่เกิดขึ้นอย่างช้าๆ ในส่วนของแก่นล าต้นนี้  เกิดจากกระบวนการออกซิเดชันของสาร

            phenole ที่เกิดขึ้นแทนที่แป้ง  และจากการแตกตัวของเอ็นไซม์ที่ควบคุมกิจกรรมต่างๆ ภายในเซลล์

                    2  กระพี้  (sap  wood)    เป็นส่วนด้านนอกของเนื้อไม้ มีสีอ่อน  เกิดจากกลุ่มท่อน้ าที่พัฒนา
            ภายหลังและยังท าหน้าที่ล าเลียงน้ าและเกลือแร่  มีการสะสมของสารประกอบต่างๆ อยู่น้อย  จึงท าให้มีสี

            อ่อนและเนื้อไม้ไม่แข็งเท่าส่วนที่เป็นแก่นของล าต้น

                    ในเนื้อไม้จากต้นเดียวกัน  ส่วนของแก่นจะมีความทนทานมากกว่ากระพี้ เนื่องจากมีสารต่างๆ

            สะสมอยู่  นอกจากนี้ยังมีความชื้นต่ า  และช่องว่างระหว่างเซลล์ เช่น vessel  ประกอบด้วย resin,
            tylosoid  และ tylose    ท าให้การท าลายของโรคและแมลงเกิดขึ้นได้ยากเนื่องจาก tylose  จะไปปิดกั้น




                                                                                  รศ. ดร. ลิลลี่  กาวีต๊ะ
   82   83   84   85   86   87   88   89   90   91   92