Page 82 -
P. 82
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
76
โครสร้างพืช
เมื่อเกิดการเจริญและเปลี่ยนแปลงทั้ง 2 ลักษณะเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ จะท าให้กลุ่มท่อล าเลียงมาเชื่อม
ติดกันรอบล าต้น พืชบางชนิดไม่มี interfascicular cambium เกิดขึ้น เมื่อมีการเจริญขั้นที่สองกลุ่มท่อ
ล าเลียงก็ไม่ได้เชื่อมติดกันได้ ขณะที่เกิดเนื้อเยื่อขั้นที่สอง primary phloem จะถูกดันออกไปด้านนอก
และเนื่องจากมีผนังเซลล์บาง จึงถูกดันและถูกท าลายไปในที่สุด secondary phloem ที่สร้างมาใหม่จะ
ท าหน้าที่ล าเลียงอาหารและมีอายุยาวนาน ในขณะที่ secondary xylem ที่ท าหน้าที่ล าเลียงน้ ามีอายุสั้น
กว่า ท าให้แคมเบียมต้องสร้างกลุ่มท่อน้ าให้มากกว่ากลุ่มท่อล าเลียงอาหาร (ภาพที่ 4.12)
นอกจากนี้แล้ว ในกลุ่มท่อล าเลียงอาหารนั้น เซลล์แคมเบียมบางเซลล์มีการแบ่งตัว มีความยาว
และตั้งฉากกับความยาวของทั้งท่อน้ าและท่อล าเลียงอาหาร โดยเกิดกลุ่มของท่อทั้ง 2 ชนิดที่แทรกตัวอยู่
มีลักษณะเป็นวงรัศมีออกไปจากจุดศูนย์กลาง ท่อในกลุ่มของท่อน้ ามีชื่อเรียกว่า xylem ray ส่วนในกลุ่ม
ของท่อล าเลียงอาหารมีชื่อเรียกว่า phloem ray และใน pith เรียกว่า pith ray
periderm
cortex
primary phloem
secondary phloem
vascular cambium
secondary xylem
primary xylem
pith
ภาพที่ 4.12 โครงสร้างภายในของล าต้น Tillia ที่ตัดตามขวาง และมีการเจริญขั้นที่สอง
2). cork cambium หรือ phellogen ในการเจริญขั้นที่สองของล าต้นเพื่อการขยายขนาดทาง
ด้านข้างนอกจากจะเกิดจาก vascular cambium แล้ว ยังสามารถเกิดจากการแบ่งเซลล์ของเนื้อเยื่อ cork
cambium ที่อยู่รอบนอกของล าต้นบริเวณ cortex ได้ โดยเนื้อเยื่อ cork cambium เกิดจากการสูญเสีย
ลักษณะที่มีอยู่ไป (dedifferentiation) และการได้มาซึ่งลักษณะใหม่ (redifferentiation) ของเนื้อเยื่อในชั้น
cortex ซึ่งอาจเป็นเนื้อเยื่อพาเรนไคมา หรือ coollenchyma ที่อยู่ใต้ชั้น epidermis เกิดเป็นเนื้อเยื่อของ
cork cambium หรือ phellogen ที่มีคุณสมบัติเป็นเนื้อเยื่อเจริญ สามารถแบ่งเซลล์ และเจริญ
รศ. ดร. ลิลลี่ กาวีต๊ะ