Page 63 -
P. 63

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                  57
                                                                                   ราก





















              ภาพที่ 3.20  ปมรากถั่วที่เกิดจากการตรึงไนโตรเจนของ ไรโซเบียม



            สรุป

               1.  รากมีความส าคัญต่อการเจริญเติบโตของพืช มีการเจริญลงสู่ดินตามแรงโน้มถ่วงของโลก  เพื่อ
                   ยึดล าต้น ดูดน้ าและเกลือแร่ต่างๆ ในดิน และท าหน้าที่อื่นๆ

               2.  รากก าเนิดมาจาก 1) ส่วนของ radicle ที่อยู่ส่วนใต้ใบเลี้ยงของเอมบริโอของเมล็ด เรียกรากนี้ว่า

                   รากแก้ว (primary  root  หรือ  tap  root)  และ 2)  ก าเนิดจากส่วนอื่นที่ไม่ใช่เอมบริโอของเมล็ด

                   เรียกรากชนิดนี้ว่า รากพิเศษ (adventitious root)
               3.  ระบบรากพืชแบ่งออกเป็น 2 ระบบ คือ ระบบรากแก้ว (tap root system)  และระบบรากฝอย

                   (fibrous root system)

               4.  โครงสร้างของรากบริเวณปลายรากประกอบด้วย 1) หมวกราก (root cap)  2) เขตเซลล์แบ่งตัว

                   (region  of  cell  division  หรือ meristematic  region)  3)  เขตเซลล์ยืดตัว (region  of  cell
                   elongation)  4)  เขตเซลล์แก่ (region  of  cell  maturation)  5)  เขตเนื้อเยื่อขั้นแรก (region  of

                   primary tissue)

               5.  โครงสร้างภายในเมื่อมีการเจริญขั้นแรก (primary growth) ประกอบด้วยเนื้อเยื่อต่าง ๆ ได้แก่ ชั้น
                   เนื้อเยื่อ epidermis  ชั้น cortex  ประกอบด้วยเนื้อเยื่อ parenchyma,  collenchyma  และ

                   sclerenchyma  และ endodermis  ซึ่งเป็นเนื้อเยื่อด้านในสุดของชั้น cortex  ถัดเข้าไปเป็นชั้น




                                                                                  รศ. ดร. ลิลลี่  กาวีต๊ะ
   58   59   60   61   62   63   64   65   66   67   68