Page 60 -
P. 60

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

              54
                     โครสร้างพืช


                   3.  รากค้ าจุน (prop or stilt root)  เป็นรากที่แตกออกจากบริเวณ ข้อของล าต้นใต้ดิน หรือเหนือ

            ดินขึ้นมาเล็กน้อยแล้วเจริญเฉียง ลงไปในดิน ช่วยพยุงต้นเอาไว้ เช่น รากข้าวโพด เตย ล าเจียก ไทรย้อย
            โกงกาง (ภาพที่ 3.15)
















              ภาพที่ 3.15  รากที่เปลี่ยนแปลงไปท าหน้าที่พิเศษ  รากค้ าจุน (prop or stilt root)
                   4.  รากเกาะ (climbing root)  เป็นรากที่แตกออกมาตามบริเวณข้อของล าต้นแล้วมาเกาะตาม

            หลักเพื่อพยุงล าต้นให้ติดแน่น และช่วบยึดให้ล าต้นชูขึ้นที่สูง เช่น รากพลู  พลูด่าง พริกไทย กล้วยไม้ และ

            ไม้เลื้อยบางชนิด  รากเหล่านี้ส่วนมากจะไม่ท าหน้าที่ดูดซึมน้ าและเกลือแร่ (ภาพที่ 3.16)












              ภาพที่ 3.16  รากที่เปลี่ยนแปลงไปท าหน้าที่พิเศษ  รากเกาะ (climbing root)

                   5.  รากสังเคราะห์ด้วยแสง (photosynthetic root)  เป็นรากที่แตกออกจากข้อของล าต้นหรือกิ่ง
            เช่นเดียวกัน แต่ห้อยลงมาในอากาศ  มีสีเขียวของคลอโรฟิลล์  ท าหน้าที่สังเคราะห์ด้วยแสงได้ เช่น ราก

            กล้วยไม้ ไทร โกงกาง ซึ่งมีสีเขียวเฉพาะที่ปลายรากหรือรากอ่อนตรงที่ห้อยอยู่ในอากาศเท่านั้น  เมื่อรากนี้
            เจริญเติบโตยืดยาวลงสู่พื้นดิน ส่วนที่ไชลงไปในดินจะไม่มีสีเขียว (ภาพที่ 3.14)




            รศ. ดร. ลิลลี่  กาวีต๊ะ
   55   56   57   58   59   60   61   62   63   64   65