Page 66 -
P. 66

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว




              หอยแครงในมาเลเซียมีปัญหาผลผลิตลดลงเนื่องจากการพัฒนาพื้นที่ชายฝั่งที่ท�าให้สภาวะแวดล้อม
              ส�าหรับการเลี้ยงหอยแครงเสื่อมโทรมลงเช่นกัน

              ตารางที่ 5.3  เปรียบเทียบมูลค่าต่อหน่วยของผลผลิตหอยแครงจากการเพาะเลี้ยงของแต่ละประเทศ
                         สมาชิกอาเซียนในปี 2554
                     รายการ            ไทย       เวียดนาม      มาเลเซีย     กัมพูชา
               ผลผลิต (พันตัน)          40.526       na          57.544         0.800
               มูลค่าต่อหน่วย
               (เหรียญสหรัฐต่อ กก.)      1.29        na            0.56         1.00
              ที่มา : ค�านวณจากข้อมูลของ Food and Agriculture Organization (2010)
                   ในกลุ่มประเทศสมาชิกอาเซียนประเทศไทยน�าเข้าหอยแครงจากมาเลเซียเฉลี่ยปีละ
              ประมาณหนึ่งหมื่นตัน ส่วนใหญ่น�าเข้าลูกหอยขนาดเล็กมาหว่านเลี้ยงในแปลงหอย นอกจากนั้น
              มีการน�าเข้าเล็กน้อยจากเวียดนาม สหภาพพม่า สิงคโปร์และกัมพูชา ส่วนที่ส่งออก มีน้อยมาก
              เฉลี่ยประมาณปีละสิบตัน ส่วนใหญ่ส่งไปเวียดนาม และมีที่ส่งไปมาเลเซียและ สปป.ลาว ไม่มาก
              โอกาสทางการค้าหอยแครงในตลาดอาเซียนไม่แจ่มใส มาเลเซียยังเป็นผู้ส่งออกหลักในภูมิภาค
                   จากตารางที่ 5.4 ผลผลิตต่อไร่จากการเพาะเลี้ยงหอยแครงมีแนวโน้มลดลงเนื่องจากปัญหา
              ความเสื่อมโทรมของพื้นที่เลี้ยงหอย ในพื้นที่เลี้ยงที่ส�าคัญที่สุราษฎร์ธานี มีปัญหาน�้าท่วม ซึ่งท�าให้
              ความเค็มของน�้าในแปลงหอยลดลงเมื่อน�้าจืดระบายลงทะเล ผลผลิตที่ได้ลดลง ต้นทุนหลักของ
              การเพาะเลี้ยงหอยแครงคือค่าแรงงานซึ่งคิดเป็นเกือบครึ่งหนึ่งของต้นทุนทั้งหมด เกษตรกรยัง
              สามารถมีก�าไรจากการเพาะเลี้ยงหอยแครง ทั้งราคายังมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นเนื่องจากผลผลิตมีน้อย
              ไม่พอกับความต้องการของตลาด
              ตารางที่ 5.4  ต้นทุน - รายได้การเพาะเลี้ยงหอยแครง

                      รายการ         ผลผลิต ต้นทุนคงที่ ต้นทุน ต้นทุนรวม ราคาขาย  ก�าไร
                                     (กก./ไร่) (บาท/กก.) ผันแปร (บาท/กก.) (บาท/กก.)  (บาท/กก.)
                                                     (บาท/กก.)
               2551-สุราษฎร์ธานี      3,468      1       7       8      13       5
                           1
               2552-ภาคกลาง ใช้พันธุ์หอย    645   1     18      19      26       7
                                 2
               2552-ภาคตะวันออก       1,640      1      22      23      28       5
               ใช้พันธุ์หอย 2
               2552-ภาคกลาง           1,498    0.4      17      17      27      10
               ใช้หอยขนาดเล็ก   2
               2552-ภาคตะวันออก       1,486      1      14      15      28      13
               ใช้หอยขนาดเล็ก 2
               2552-ภาคใต้            1,106    0.4      15      15      22       7
               ใช้หอยขนาดเล็ก 2
               2552-สุราษฎร์ธานี      2,890      4      17      21      23       2
                           3
                           4
               2556-สุราษฎร์ธานี      1,226      6      16      22      35      13
                                 2
              ที่มา :  กรมประมง (2550)  ส�านักงานเศรษฐกิจการเกษตร (2552)  นิตย์และคณะ (2553)  ข้อมูลส�ารวจ
                                                            3
                                                                           4
                   1
                   ในโครงการศึกษานี้ (2556) เฉพาะปี 2556 ที่มาจากการสอบถามเกษตรกรเป็นราคาปี 2556
                   นอกจากนั้นเป็นราคา ณ ระดับราคา ปี 2554
                          สถานภาพการเพาะเลี้ยงสัตว์น�้าไทยในบริบทของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน >> I 57 I
   61   62   63   64   65   66   67   68   69   70   71