Page 63 -
P. 63

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว




                  การส่งออกและการน�าเข้าหอยแมลงภู่ระหว่างไทยกับประเทศสมาชิกอาเซียนอื่นๆ มีไม่
            มาก ทั้งแนวโน้มยังลดลง ศักยภาพการค้าสัตว์น�้าชนิดนี้ต�่า ประเทศส่งออกปลายทางที่ส�าคัญคือ
            เวียดนาม และประเทศสมาชิกอาเซียนที่ไทยน�าเข้าหอยแมลงภู่เป็นส�าคัญ ได้แก่ กัมพูชา
            และอินโดนีเซีย คาดว่าโอกาสการค้าหอยแมลงภู่มีอยู่จ�ากัดในภูมิภาคอาเซีย เนื่องจากผลผลิต

            มีน้อยลง ทั้งในการน�าเข้าก็มีการน�าเข้าหอยแมลงภู่จากภูมิภาคอื่นเป็นสินค้าในระดับที่มีคุณภาพ
            และราคาสูงกว่าที่ผลิตได้ในภูมิภาค
                  ตารางที่ 5.2 แสดงต้นทุนรายได้ของการเพาะเลี้ยงหอยแมลงภู่ในประเทศไทย ผลผลิตมี
            แนวโน้มลดลง โดยเฉพาะการเลี้ยงแบบปักหลักล่อลูกหอย ซึ่งอาจเป็นเพราะลูกหอยที่มีตาม
            ธรรมชาติมีน้อยลง ต้นทุนที่ส�าคัญเป็นค่าแรงงาน เกษตรกรยังสามารถมีก�าไรแม้ผลผลิตที่ได้จะ
            ลดลง น่าสังเกตว่าราคาขายที่เกษตรกรรายงานต�่ากว่ามูลค่าต่อหน่วยที่ค�านวณจากข้อมูลของ
            องค์การอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติอยู่มาก ทั้งนี้อาจเนื่องจากส่วนเหลื่อมการค้าจาก
            ระดับฟาร์มขึ้นมาค่อนข้างสูง

                  ปัญหาของการเพาะเลี้ยงหอยแมลงภู่คือการที่ต้องพึ่งลูกหอยจากธรรมชาติเป็นส�าคัญ
            บริเวณที่เพาะเลี้ยงเริ่มเสื่อมโทรม หอยเติบโตช้าหากเลี้ยงหนาแน่นเกินไป หอยที่เลี้ยงได้มีขนาด
            เล็กลง ทั้งในบางแห่งเกษตรกรไม่สามารถเลี้ยงหอยในช่วงฤดูฝนที่ความเค็มของน�้าลดลงมาก
            ทั้งยังมีปัญหาน�้าจืดในช่วงฤดูมรสุม ผลผลิตที่ได้ไม่แน่นอนขึ้นกับสภาวะอากาศและยังมี
            ปัญหาน�้าเสีย เนื่องจากส่วนมากเป็นการเลี้ยงในพื้นที่ชายฝั่งที่บนฝั่งมีการขยายตัวของโรงงาน
            อุตสาหกรรมและชุมชนที่มีผลท�าให้น�้าเสีย ในพื้นที่ที่ใช้เลี้ยงหอยมานานแล้วมีการตื้นเขิน นอกจาก
            นี้ยังมีปัญหาคลื่นลมและกระแสน�้าตลอดจนอวนลากและอวนรุนที่ท�าความเสียหายให้แก่
            หลักหอยแมลงภู่ มีปัญหาศัตรูหอยแมลงภู่ เช่น ปลากะพง ปู และเพรียง ทั้งยังมีปัญหาการ

            ลักขโมยผลผลิต การรับซื้อในพื้นที่จะมีผู้รวบรวมน้อยรายซึ่งจะท�าหน้าที่ก�าหนดล�าดับการเก็บหอย
            เกษตรกรไม่สามารถขายผลผลิตได้ตามเวลาที่ต้องการ และราคาที่เกษตรกรได้รับต�่ากว่าราคา
            ในท้องตลาด เนื่องจากมีการผูกขาดการรับซื้อจากเกษตรกรที่เกษตรกรไม่มีอ�านาจต่อรองราคา
            การเพาะเลี้ยงหอยแมลงภู่ ยังไม่ได้รับความสนับสนุนที่ชัดเจนจากภาครัฐในเรื่องของพื้นที่ส�าหรับ
            การเพาะเลี้ยง
                  จากการสอบถามเกษตรกรผู้เลี้ยงหอยแมลงภู่ที่สมุทรสงคราม ปัญหาที่เกษตรกรเห็นว่า
            รุนแรงคือ เรื่องของน�้าเสียและน�้าจืด รองไปเป็นเรื่องของอุณหภูมิน�้าที่เปลี่ยนแปลงมากขึ้นท�าให้
            ผลผลิตที่ได้ลดลงเกษตรกรเห็นว่าเรื่องของพันธุ์หอยมีปัญหาแต่ค่อนข้างน้อย สามารถหาซื้อ
            ลูกหอยจากแหล่งอื่นมาเพิ่มเติมในแปลงเลี้ยงได้ แต่ก็เป็นพันธุ์หอยที่ได้จากธรรมชาติเช่นกัน
            (ตารางผนวกที่ 2)

                  เกษตรกรผู้เลี้ยงหอยแมลงภู่ที่สมุทรสงครามต้องการความช่วยเหลือจากรัฐค่อนข้างน้อย
            ในด้านความรู้ ราคา การตลาด และการแก้ปัญหาน�้าเสีย ตลอดจนเงินทุนดอกเบี้ยต�่า (ตาราง
            ผนวกที่ 3)






            54    >> สถานภาพการเพาะเลี้ยงสัตว์น�้าไทยในบริบทของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
   58   59   60   61   62   63   64   65   66   67   68