Page 59 -
P. 59

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว




            ส่งผลเสียต่อสภาพแวดล้อม จึงส่งเสริมการใช้อาหารเม็ดมากขึ้น ประเทศไทยควรให้ความสนใจ
            พัฒนาการเพาะเลี้ยงปลากะรังซึ่งเป็นสัตว์น�้าที่ยังมีโอกาสที่จะพัฒนาช่องทางการตลาดท�ารายได้
            ให้แก่เกษตรกรผู้เพาะเลี้ยง ส�าหรับการส่งออกและการน�าเข้าปลากะรังระหว่างประเทศไทยกับ
            ประเทศสมาชิกอาเซียนอื่นๆ ไม่ปรากฏในรายงาน

                  การเพาะเลี้ยงปลากะรังในประเทศไทยสามารถท�าก�าไรหากสามารถหาพันธุ์ปลาได้ตามที่
            ต้องการ และหาซื้อปลาเหยื่อที่เป็นอาหารสดได้ในราคาที่ไม่สูงเกินไป จากการศึกษาที่ผ่านมาพบว่า
            เมื่อต้นทุนค่าอาหารสูงมากการเลี้ยงอาจขาดทุนดังที่เคยเป็นในปี 2546 จากการสอบถามเกษตรกร
            ที่จังหวัดกระบี่ซึ่งเป็นผู้เพาะเลี้ยงในฟาร์มขนาดใหญ่มีกระชังปลา โดยเฉลี่ย 20 กระชังต่อราย และ
            หาซื้อพันธุ์ปลาได้จากกรมประมง และผู้เพาะเลี้ยงปลากะรังในจังหวัดสงขลาซึ่งเป็นผู้เพาะเลี้ยง
            ขนาดเล็กมีกระชังปลาเฉลี่ย 5 กระชังต่อราย อาศัยลูกปลาจากผู้รวบรวมลูกปลาจากแหล่งน�้า
            ธรรมชาติ ทั้งสองกรณีมีก�าไร เกษตรกรขายปลากะรังได้ในราคาสูง (ตารางที่ 4.6)


            ตารางที่ 4.6  ต้นทุน – รายได้การเพาะเลี้ยงปลากะรังในกระชัง

                    รายการ         ผลผลิต ต้นทุนคงที่ ต้นทุน ต้นทุนรวม ราคาขาย  ก�าไร
                                   (กก./ไร่) (บาท/กก.) ผันแปร (บาท/กก.) (บาท/กก.) (บาท/กก.)
                                                   (บาท/กก.)
             2541 - สตูล              na       7     146      153     306      153
                     1
             2546 - พังงา 9-36 ตร.ม.    na    11     276      287     240      -47
                             2
             2546 - พังงา 37-89 ตร.ม.   2  na   7    192      199     241      42
                            2
             2546 - พังงา 90 ตร.ม.    na       2     218      220     252      32
             2556 - กระบี่ ฟาร์มขนาดใหญ่    31   25   263     288     422      134
                                 3
             2556 - สงขลา ฟาร์มขนาดเล็ก    33   9    163      172     346      174
                                 3
            ที่มา :   วีณา (2542)   จินตวาณี (2547)   ข้อมูลส�ารวจในโครงการศึกษานี้ (2556) เฉพาะปี 2556 เป็น
                            2
                  1
                                          3
                  ราคาปี 2556 ที่มาจากการสอบถามเกษตรกร นอกจากนั้นเป็นราคา ณ ระดับราคา ปี 2554
                  ปัญหาในการเพาะเลี้ยงปลากะรังในประเทศไทยคือข้อจ�ากัดเรื่องพันธุ์ปลาที่ยังเพาะได้ไม่
            พอต่อความต้องการ พันธุ์ปลามีราคาสูง จากการสอบถามเกษตรกรในพื้นที่ที่ศึกษาคือ กระบี่และ
            สงขลาเกษตรกรเห็นว่ายังมีปัญหาเรื่องพันธุ์ปลาค่อนข้างมาก นอกจากนี้ต้นทุนค่าอาหารยังสูง

            เนื่องจากปลาเหยื่อที่ใช้เป็นอาหารสดมีราคาแพงขึ้น แต่ปัญหาเรื่องอาหารยังเป็นรองเรื่องของพันธุ์ปลา
                                              10
            นอกจากปัญหาอาหารปลายังมีปัญหาน�้าเสีย  และเนื่องจากเป็นการเลี้ยงในกระชังที่เกษตรกร
            มักจะวางกระชังในคลองใกล้ทะเล จึงพบว่ามีปัญหาเกี่ยวกับอุณหภูมิของน�้าและกระแสน�้า ซึ่งไม่
            เป็นปัญหาในการเลี้ยงกุ้งขาวและปลากะพงขาว กับยังมีปัญหาศัตรูปลากะรังที่มีตัวเงินตัวทอง
            เข้ามากินปลา (ตารางผนวกที่ 2)


               10     ในปี 2557 เกษตรกรที่กระบี่ประสบภาวะน�้าเสียท�าให้เลี้ยงไม่ได้ผล




            50    >> สถานภาพการเพาะเลี้ยงสัตว์น�้าไทยในบริบทของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
   54   55   56   57   58   59   60   61   62   63   64