Page 25 -
P. 25

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว





                   ตำรำงที่ 2.1 โครงสร้�งต้นทุนก�รผลิตข้�วโพดต่อไร่ ปี พ.ศ. 2553


                                              ที่ร�บ                 ที่ชัน

                                        ต้นทุน          ร้อยละ   ต้นทุน         ร้อยละ

          ค่�แรง (บ�ท/ไร่)              1,972.13      49.17    1,474.09      39.71
          ค่าจ้างเตรียมดิน (บาท/ไร่)    1,383.78      34.50    1,142.26      30.77

          ค่าจ้างแรงงาน (บาท/ไร่)         588.36      14.67      331.84       8.94

          ค่�วัตถุดิบ (บ�ท/ไร่)         1,628.49      40.61    1,789.67      48.20

          ค่าเมล็ดพันธุ์ (บาท/ไร่)        425.09      10.60      395.73      10.65

          ค่าปุ๋ยและสารเคมี (บาท/ไร่)   1,203.40      30.01    1,393.94      37.55

          ค่�จ้�งสีและขนส่ง (บ�ท/ไร่)     373.52       9.31     412.50       11.11

          ต้นทุนอื่นๆ (บ�ท/ไร่)            36.34       0.91      36.34        0.98
          รวมต้นทุน (บาท/ไร่)           4,010.48     100.00    3,712.60     100.00

          ผลผลิตต่อไร่ (กิโลกรัม/ไร่)           950                    750

          ต้นทุนต่อกิโลกรัม (บาท/กิโลกรัม)      4.22                  4.95

          ค่าความชื้นเฉลี่ย (ร้อยละ)         24.90%                   18%

          ที่ม�: เขมรัฐ เถลิงศรี และสิทธิเดช พงศ์กิจวรสิน (2555)



               ในกรณีที่เกษตรกรมีการกู้นอกระบบ ซึ่งส่วนใหญ่ไซโลจะให้กู้วัตถุดิบโดยส่งสินค้าผ่านทางหัวสี
          โดยจะคิดดอกเบี้ยเป็นอัตราเฉลี่ยร้อยละ 5 ต่อเดือน แบ่งเป็นไซโลได้รับร้อยละ 3 ต่อเดือน และหัวสีได้
         ร้อยละ 2 ต่อเดือน ในกรณีนี้จะทำาให้เกษตรกรมีต้นทุนในการปลูกเพิ่มขึ้นถึงประมาณ 0.40-0.70 บาท/
         กก. ทำาให้รายได้สุทธิในการปลูกของเกษตรกรลดลงมาก และในบางปีที่ราคาตำ่า เช่นปี 2551 เกษตรกร
         จะขาดทุนถึง 0.42 บาท/กก. (ภาพที่ 2.4)
               ทั้งนี้ การสำารวจข้อมูลเกษตรกรที่ปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ในพื้นที่ราบพบว่า เกษตรกรมีพื้นที่เพาะ
         ปลูกเฉลี่ย 31.7 ไร่/ครัวเรือน มีผลผลิตเฉลี่ย 950 กก./ไร่ โดยเกษตรกรในที่ราบใช้เงินลงทุนในการเพาะ
         ปลูกเฉลี่ยรายละ 127,165 บาท โดยเป็นกู้เงินทุนจากแหล่งเงินกู้ในระบบเป็นหลัก คิดเป็น 87,970 บาท
          ต่อครัวเรือน (คิดเป็นร้อยละ 75.62 ของต้นทุนทั้งหมด) ใช้เงินทุนของตนเอง 35,191 บาท (ร้อยละ
          20.82 ของต้นทุนทั้งหมด) และใช้เงินทุนจากแหล่งเงินกู้นอกระบบเพียง 4,003 บาท (ร้อยละ 3.55 ของ
          ต้นทุนทั้งหมด)



          14      ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์กับการสูญเสียพื้นที่ป่า: ปัญหาและทางออก
   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30