Page 18 -
P. 18
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
บทที่ 2 ห้าทศวรรษ: การพัฒนาพันธุ์ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ของไทย 9
การปรับปรุงผลผลิตและลักษณะต่างๆ ของพันธุ์ไทยคอมโพสิตเบอร์ 1 โดยใช้วิธี
คัดเลือกแบบวงจรเอส 1 (S 1 Recurrent Selection) ดำาเนินไป 3 ชั่ว ตั้งแต่ต้นฤดูฝนปี พ.ศ. 2513
ถึง ฤดูแล้งปี พ.ศ. 2516 จนได้ไทยคอมโพสิตเบอร์ 1 (S) C 3 ซึ่งในขณะนี้การปรับปรุงไทยคอม
โพสิต เบอร์ 1 (S) C 3 เพื่อผลผลิตได้หยุดลง
หลังจากการการปรับปรุงไทยคอมโพสิตเบอร์ 1(S) C 3 เพื่อให้ผลผลิตได้หยุดลง และ
ในช่วงที่กำาลังคัดเลือกพัฒนาพันธุ์ไทยคอมโพสิต เบอร์ 1 นั้น ปรากฏว่าในช่วงปี พ.ศ. 2514-
2515 เกิดโรคระบาดนี้ที่ไร่สุวรรณอย่างรุนแรง โดยที่แม้ว่าพันธุ์ไทยคอมโพสิต เบอร์ 1 จะให้
้
้
ผลผลิตสูง ในกรณีที่ปราศจากโรครานำาค้างก็ตาม แต่ในสภาพที่มีโรครานำาค้างระบาด พันธุ์นี้
้
่
ก็ไม่มีความต้านทานต่อโรครานำาค้างเช่นเดียวกับพันธุ์กัวเตมาลา ดังนั้น ผลผลิตที่ได้จึงตำามาก
ทีมงานวิจัยที่นำาทีมโดย ดร.สุจินต์ จินายน จึงทำาการคัดเลือกปรับปรุงผลผลิตในพันธุ์ไทยคอม
โพสิต เบอร์ 1 อย่างต่อเนื่อง โดยดำาเนินการ ดังนี้
(1) คัดเลือกตระกูล S 1ไป 3 ชั่ว เป็นพันธุ์ไทยคอมโพสิต เบอร์ 1 (S) C 3
้
(2) ใส่ความต้านทานโรครานำาค้าง โดยผสมกับพันธุ์ต้านทาน คือ ฟิลิปปินส์ ดีเอ็มอาร์
1 และ 5 ผสมกลับไปหาพันธุ์ไทยคอมโพสิต เบอร์ 1 (S) C n จำานวน 3 ครั้ง ได้พันธุ์ต้านทานที่
เรียกว่า ไทยคอมโพสิต เบอร์ 1 ดีเอ็มอาร์
้
(3) ทำาการปรับปรุงผลผลิตและความต้านทานโรครานำาค้างในพันธุ์ไทยคอมโพสิต เบอร์
1 ดีเอ็มอาร์ โดยวิธีคัดเลือกตระกูล S 1 ได้พันธุ์ไทยคอมโพสิต ดีเอ็มอาร์ (S) C 2 จนกระทั่งได้พันธุ์
้
ที่นอกจากให้ผลผลิตสูงแล้ว ยังมีความสามารถต้านทานโรครานำาค้างในระยะระบาดรุนแรงได้
เป็นอย่างดี ทั้งนี้ ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์พันธุ์นี้ได้รับการรับรองเป็นพันธุ์มาตรฐานอย่างเป็นทางการ
เมื่อปี พ.ศ. 2517 มีชื่อว่า “พันธุ์สุวรรณ1”
2.1.4 ก�รปรับปรุงพันธุ์ Composite 1 สู่ Composite 1 DMR
้
สุทัศน์ ศรีวัฒนพงศ์ (2553: 122) ได้ระบุว่า ในปี พ.ศ. 2514 พบโรครานำาค้างซึ่งเกิด
จากเชื้อ Peronosclerosporasorghi ระบาดในประเทศไทยรุนแรงและทำาความเสียหายแก่
ข้าวโพดมาก ซึ่งพันธุ์ Thai Composite #1 รวมทั้งพันธุ์อื่นๆ ไม่สามารถต้านทานต่อโรค
นี้ ต่อมาโครงการปรับปรุงพันธุ์ข้าวโพดจึงคัดเลือกพันธุ์ต้านทานโรคนี้จากประเทศฟิลิปปินส์
ได้ 2 พันธุ์ คือ พันธุ์ Philippines DMR 1 และ Philippines DMR 5 มีลักษณะต้านทาน
้
โรครานำาค้างดีและให้ผลผลิตสูง นอกจากนี้ โครงการข้าวโพดระหว่างภูมิภาคเอเชีย (IACP-Inter
Asian Corn Program) ได้ใช้การถ่ายทอดลักษณะต้านทานโรค โดยทำาการผสมพันธุ์ Thai
Composite#1 (S) C 1 กับ Philippines DMR 1 และ Philippines DMR 5 เพื่อเป็นแหล่ง
ของความต้านทาน เขียนเป็นรูปพันธุ์ได้ ดังนี้
ฟิลิปินส์ ดีเอ็มอาร์ 1, 5X ไทยคอมโพสิตเบอร์ 1 (S) C 1
[Philippiness DMR 1, 5X] [Thai Composite # 1 (S) C 1
้
หลังจากถ่ายทอดลักษณะต้านทานโรครานำาค้างแล้ว พันธุ์ไทยคอมโพสิตเบอร์ 1
ดีเอ็มอาร์ ได้รับการคัดเลือกแบบวงจรรอบที่ 1 เมื่อปี พ.ศ. 2516 และรอบที่ 2 ในปี พ.ศ. 2517
ในปีนี้เองที่พันธุ์สุวรรณ 1 ได้ถือกำาเนิดขึ้นอย่างเป็นทางการ