Page 27 -
P. 27

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี






                                ตารางที่ 2-1  แสดงคาพารามิเตอรการสูญเสียที่สภาพแวดลอมตางๆ



                                 ลักษณะสภาพแวดลอมของการแพรกระจายคลื่น             v


                                      Free space                                    2


                                      Flat rural                                    3


                                      Rolling rural                                3.5


                                      Suburban, low rise                            4


                                      Dense urban, skyscrapers                     4.5


               ในกรณีของการแพรกระจายคลื่นผานสิ่งกีดขวางที่เรียกวา Non-line-of-sight (N-LOS) การแพรกระจายของ

               คลื่นจะมีการสะทอนกลับ  การเลี้ยวเบน  และ/หรือ  การกระเจิง  โดยกําลังงานที่ไดรับภายใตเงื่อนไขแบบ  N-
               LOS จะหาไดจากสมการ


                                                                d   v
                                               P r (d ) =  P r (d  )  ref    , d >  d
                                                            ref
                                                                 d          ref

               โดยที่ d  เปนระยะทางอางอิงซึ่งจะตองนอยกวาระยะทางทั่วไปที่ใชในระบบสื่อสารแบบเคลื่อนที่และตองอยู
                      ref
                                 1
               ในบริเวณ  Far-field   ของสายอากาศ  ( d )  ดังนั้นการสูญเสียตอจากจุดอางอิงจะเปนผลกระทบที่ขึ้นกับ
                                                     f
               ระยะทางลวนๆ  คานี้โดยทั่วไปจะอยูในระยะ  100 -  1000  เมตร  กําลังงานที่ระยะ  d   ( P r (d ref  ) )  อยูใน
                                                                                       ref
               หนวยมิลลิวัตต เราสามารถเขียนสมการใหอยูในหนวย dBm ไดดังนี้


                                                                                d   
                                         P ( d dBm)  = 10 log 10 [ P ( d )] +10 vlog 10   d ref  
                                          r
                                                                  ref
                                                               r
                                                                                     
               กราฟของกําลังงานที่ไดรับสําหรับคา  v  ที่ตางกันเล็กนอยในรูปที่ 2-11  จะแสดงใหเห็นวาความสูญเสียมี

               แนวโนมเพิ่มขึ้นเมื่อสภาพแวดลอมเปนแบบ N-LOS  คา  v  มากจะสอดคลองกับสภาพแวดลอมบริเวณเมือง
               ใหญและในเมือง สวนคา  v นอยจะสอดคลองกับบริเวณชานเมืองหรือชนบท ในชวงระยะทางสั้น ๆ คากําลัง

               งานที่รับไดจะไมแตกตางกันมากนัก ดังนั้นในกรณีที่ไมทราบคา  (dP r  ref ) สามารถใชแบบจําลองการ
               แพรกระจายแบบ free-space ในการประมาณคากําลังงานที่ระยะอางอิงได






               1   บริเวณที่ห่างจากสายอากาศมากกว่า  far-field distance  กําลังที่รับได้จะเป็นผลจากการแพร่กระจายตามระยะทางเท่านั้น  เนื่องจากไม่ถูก
               รบกวนจากปรากฏการณ์ทางสนามแม่เหล็กไฟฟ้ าอื่นๆ ที่ระยะน้อยกว่า d (ค่า d ขึ้นกับความยาวคลื่น)
                                                              f
                                                                  f

               หนา 20
   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32