Page 26 -
P. 26
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
จากสมการ เมื่อสายอากาศเปนแบบ Isotropic (G=1) และคิดเฉพาะการสูญเสียจากการแพรกระจาย
คลื่น (L=1) เราสามารถหาการสูญเสียตามระยะทางสําหรับการแพรกระจายในทิศทางตรง ซึ่งเรียกวา free-
space path loss ( L ) ไดจาก
free
λ
L = 4 d π 2 = − 20 log dB
free
λ 10 4 d π
เราสามารถคํานวณหาการสูญเสียตามระยะทางที่เกิดกับสัญญาณความถี่ f (MHz) ระยะทาง
ระหวางตัวสงและตัวรับ d (km) ภายใตเงื่อนไขการกระจายเหนือพื้นที่ราบและปราศจากสิ่งกีดขวาง (flat,
obstruction-free terrain) ไดจากสมการ
L = − 20 log 10 c f / = 32.44 + 20log ( ) f + 20 log ( ) dBd
free
4π d 10 10
โดยที่ c เปนความเร็วของคลื่นแมเหล็กไฟฟาใน Free-space มีคาเทากับ 3× 10 8 m s / และ d ≥ 1
ตัวอยาง 2.1 พิจารณาสายอากาศที่สงดวยกําลังงาน 10 วัตต ที่ 900 MHz จงคํานวณหากําลังงานที่ไดรับที่
ระยะทาง 2 กิโลเมตร ถาการแพรกระจายของคลื่นอยูใน free space
คําตอบ แทนคาความยาวคลื่นที่ 900 MHz ลงในสมการของฟริส เมื่อ L = 1, G t = G r = 1 จะได
Pλ 2 10 4 (3× 10 8 / 900× 10 6 ) 2 1 3
P ( ) d = t = = 20 log = − 57 5 . dBm
r
2
( ) d 2 ( ) (24π 2 × 10 3 ) 2 80
π
4π
ในกรณีนี้จะไดคาการสูญเสียวิถี
L free = 32 . 44 + 20 log( 900 ) + 20 log( ) 2 = 97 5 . dB
2.3 แบบจําลองการสูญเสียวิถีอยางงาย (Simplified Path-Loss Model)
การแพรกระจายของคลื่นใน Free-space ที่กลาวมาขางตนนั้นเปนกรณีอุดมคติ การสูญเสียที่พบจริงจึงมักจะ
สูงกวาคาที่ประมาณไวคอนขางมาก ดังนั้นเราอาจสรางแบบจําลองงาย ๆ โดยมองวาการสูญเสียกําลังงานนั้น
แปรตามระยะทางดวยเลขยกกําลังที่มีคามากกวาหรือเทากับสอง เราเรียกคานั้นวาพารามิเตอรการสูญเสีย
( ) v ในกรณีนี้เราสามารถเขียนสมการสําหรับกําลังงานที่รับได P ในรูป
r
v
−
P ∝ d
r
ซึ่ง v มีคาต่ําสุดเปน 2 เมื่อเปนการแพรกระจายในทิศทางตรง (LOS) และใชคาที่มากกวา 2 เมื่อการ
แพรกระจายคลื่นไมเปนไปตามเงื่อนไขแบบ Free-space ตารางที่ 2-1 เปนตัวอยางการประมาณ
คาพารามิเตอรการสูญเสีย ( ) v สําหรับสภาวะแวดลอมในการแพรกระจายคลื่นที่แตกตางกัน
หนา 19