Page 22 -
P. 22

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี























                               รูปที่ 2-3  การเลี้ยวเบนของคลื่นแมเหล็กไฟฟาที่มุมอาคาร  (Shankar, 2002)

                     4.  การกระเจิง (Scattering) เปนปรากฏการณที่เกิดขึ้นเมื่อสื่อกลางที่คลื่นแมเหล็กไฟฟาเคลื่อนที่ผาน
                         มีวัตถุขนาดเล็กกวาความยาวคลื่นอยูเปนจํานวนมาก   คลื่นจะเกิดการกระเจิงไปในทุกทิศทางดัง

                         แสดงในรูปที่  2-4   เหตุการณแบบนี้เกิดเมื่อสงสัญญาณผานสื่อกลางที่มีปาไม, กลุมเมฆ  หรือปาย
                         ถนน เปนตน


















                                     รูปที่ 2-4 การกระเจิงของคลื่นแมเหล็กไฟฟา  (Shankar, 2002)


                     ในการสรางแบบจําลองสําหรับศึกษาการแพรกระจายของคลื่น  รูปแบบที่งายที่สุดในการพิจารณาคือ

               การแพรกระจายในทิศทางตรงโดยไมผานสิ่งกีดขวางใด ๆ (Line of Sight Propagation: LOS) ซึ่งจะกลาวถึง
               รายละเอียดในหัวขอถัดไป  โดยทั่วไปการแพรกระจายของคลื่นจะไมไดมีเพียงทิศทางตรงเทานั้น  ตัวอยาง
               แบบจําลองการแพรกระจายของคลื่นที่มีการสะทอนกลับจากผิวโลก  (Plane-Earth reflection model)
               แสดงในรูปที่ 2-5
















                               รูปที่ 2-5 แบบจําลองการสะทอนของคลื่นที่ตกกระทบผิวโลก (Shankar, 2002)






                                                                                                   หนา 15
   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27