Page 25 -
P. 25

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี






               2.2 แบบจําลองการแพรกระจายในทิศทางตรง (Free Space Propagation Model)


                     แบบจําลองสําหรับการแพรกระจายในทิศทางตรง (Light of Sight: LOS) หรือ การแพรกระจายของ
               คลื่นจากภาคสงไปยังภาครับโดยไมผานสิ่งกีดขวาง (Free space propagation model) เปนพื้นฐานสําหรับ
               การศึกษาพฤติกรรมการแพรกระจายของคลื่น  เพื่อที่จะหาความสัมพันธระหวางกําลังสงและกําลังที่รับไดของ

               สัญญาณ  ในกรณีที่ไมมีสิ่งกีดขวางในเสนทางการสงสัญญาณ  กําลังงานของสัญญาณที่ไดรับ  P r (d )  จะหาได
               จากสมการ



                                                           P G  G λ 2
                                                         P  (d ) =  t  r  t  ,  d  >  0
                                                    r
                                                                2
                                                            4 ( π ) d  2 L























                                 รูปที่ 2-10 การแพรกระจายของคลื่นแบบ Free-space (Shankar, 2002)


               พารามิเตอร G  และ G  เปนอัตราขยายของตัวสงและตัวรับตามลําดับ ซึ่งมีคาเปน 1 สําหรับสายอากาศ
                                     r
                            t
               แบบกระจายทุกทิศทาง (omidirectional)       และมีคามากกวาหนึ่งสําหรับสายอากาศแบบมีทิศทาง
               (Directional radiation) โดยคาอัตราขยายจะขึ้นกับขนาดของพื้นที่จานสายอากาศเทียบกับความยาวคลื่น λ
                     4       โดยที่    =   .    แทนพื้นที่ประสิทธิผล (Effective area)  ของสายอากาศ เมื่อ η  คือ
               (   =                
                        2
               ประสิทธิภาพของสายอากาศ (antenna efficiency)  และ A  คือพื้นที่กายภาพของสายอากาศ  (antenna
               physical area) และคา  (≥L  ) 1  ในสมการแทนการสูญเสียที่เพิ่มเขามาในระบบนอกเหนือจากการสูญเสียจาก
               การแพรกระจายของคลื่น เชน การสูญเสียจากการกรอง  (filter losses)  และการสูญเสียจากสายอากาศ
               (antenna loss)  เปนตน (คือพวกการสูญเสียเนื่องจากอุปกรณนั่นเอง)  สําหรับกรณีที่  L  = 1 คือพิจารณา
               เฉพาะการสูญเสียที่เกิดจากการแพรกระจายของคลื่น สมการขางตนจะถูกเรียกวาสมการของฟริส (Friis

               Equation) หรือ Free-space received power equation


                                                            P G  G λ 2
                                                                  t
                                                    P r (d ) =  t 4 ( π ) d  2
                                                               r
                                                                 2




               หนา 18
   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30