Page 28 -
P. 28

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
































                          รูปที่ 2-11 กําลังงานที่ไดรับสําหรับพารามิเตอรการสูญเสีย (v) คาตางๆ (Shankar, 2002)



               ตัวอยาง 2.2 จากตัวอยาง ใหคํานวณกําลังงานที่ไดรับในหนวย dBm เมื่อพารามิเตอรการสูญเสีย (loss
               parameter) เทากับ 2.5, 3, 4

               คําตอบ ที่  d ref  = 100 เมตร จะได  L free ( ) 32=  . 44 + 20 log( 900 ) + 20 log(  ) 1 . 0  =  71  5 .  dB  ซึ่งให
                                                   d
                                                     ref
                                     =
                                 d
                              P
               กําลังงานที่รับได  ( ) 10 log ( ) LP −  free  = 10 log ( ) 7110 −  5 . = − 31  5 .  dBm กําลังงานที่ระยะทาง
                                                                 4
                                               t
                               r
                                  ref
                              d     
               2 กิโลเมตร เมื่อ    ref  d    =  − 13 dB สําหรับพารามิเตอรการสูญเสียคาตาง ๆ หาไดจาก
                                    
                                                                                 64-         dBm    v  = 2.5
                                                          d                   
                    P r (d ) dBm  = 10 log 10 [P r (d ref )] +10v log 10   d ref    =  − .31  5 −13v  = - 70.5     dBm    v  = 3
                                                                                
                                                               
                                                                                
                                                                                 −83     5 .  dBm    v  = 4
               23B2.4 แบบจําลองการสูญเสียวิถีเชิงประจักษ (Empirical Path-Loss Models)
               ในการออกแบบระบบเพื่อใชในเชิงพาณิชย  จําเปนตองมีการประมาณคาการสูญเสียที่แมนยํา  โดยรวมผลของ
               พารามิเตอรอื่น ๆ ในสภาพแวดลอมที่นอกเหนือจากระยะทางเชน ความสูงของสายอากาศ ความหนาแนนของ

               ชุมชน  รูปทรงของถนน  และอื่น  ๆ  แตแบบจําลองอยางงาย  (Simplified  Path-Loss  Model)  นั้นอธิบาย
               ความสัมพันธพื้นฐานระหวางการลดทอนของสัญญาณกับระยะทางเทานั้น  ในขณะที่แบบจําลองทางกายภาพ
               (Physical Model)  ก็ซับซอนและใชระยะเวลานานในการศึกษาเพื่อออกแบบระบบ  ในกรณีเชนนี้จึงเหมาะที่
               จะใชแบบจําลองทางสถิติ  ซึ่งไดจากการทดลองซ้ํา  ๆ  เพื่อศึกษาคุณลักษณะของสัญญาณที่รับไดจากการ

               แพรกระจายของคลื่นภายใตสภาพแวดลอมตาง ๆ โดยแบบจําลองทางสถิตินั้นแบงออกไดเปนสองสวนดวยกัน
               คือ

                         1.  แบบจําลองการสูญเสียวิถีเชิงประจักษ  (Empirical Path-Loss Models)  เปนแบบจําลอง
                            สําหรับคํานวณหาการสูญเสียของสัญญาณที่มาถึงตัวรับในสภาพแวดลอมตาง  ๆ  ซึ่งไดจากการ
                            ทดลอง และรวบรวมการวัดคาซ้ํา ๆ ภายใตสภาพแวดลอมและพารามิเตอรที่กําหนด ในเมือง

                            ใหญมากมาย เชน แบบจําลอง Okumura-Hata หรือ แบบจําลองของ Lee



                                                                                                   หนา 21
   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33